บุญ
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาบาลี ปุญฺญ (“คุณธรรม, คุณความดี, การกระทำที่มีคุณความดี”); เทียบภาษาสันสกฤต पुण्य (ปุณฺย, “ความดี, คุณธรรม”); ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ບຸນ (บุน), ภาษาไทลื้อ ᦢᦳᧃ (บุน), ภาษาเขมร បុញ្ញ (บุญฺญ), ภาษาพม่า ပုည (ปุญ)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | บุน | [เสียงสมาส] บุน-ยะ- | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | bun | bun-yá- |
ราชบัณฑิตยสภา | bun | bun-ya- | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /bun˧/(สัมผัส) | /bun˧.ja˦˥./ |
คำนาม
[แก้ไข]บุญ
- ความสุข
- หน้าตาอิ่มบุญ
- (ศาสนาพุทธ) การกระทำดีตามหลักคำสอน
- ไปทำบุญที่วัด
- ความดี, คุณงามความดี
- ปล่อยนกปล่อยปลาเอาบุญ
- เขาทำบุญช่วยเหลือคนตกทุกข์ได้ยาก
- ผลของการทำความดีจากชาติปางก่อน
- เขามีบุญจึงเกิดมาบนกองเงินกองทอง
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]บุญ
ลูกคำ
[แก้ไข]- สำหรับ บุญญา- ดูที่ บุญญ
- กินบุญ
- กินบุญเก่า
- แข่งเรือแข่งแพแข่งได้ แข่งบุญแข่งวาสนาแข่งไม่ได้
- คู่บุญ
- คู่บุญบารมี
- เจ้าบุญนายคุณ
- ใจบุญ
- ตามบุญตามกรรม
- ทำบุญ
- ทำบุญเอาหน้า
- นักบุญ
- เนื้อนาบุญ
- บอกบุญ
- บุญกิริยาวัตถุ
- บุญเขต
- บุญคุณ
- บุญทาย
- บุญทำกรรมแต่ง
- บุญธรรม
- บุญนิธิ
- บุญมาวาสนาส่ง
- บุญราศี
- บุญฤทธิ์
- บุญหนักศักดิ์ใหญ่
- ใบบุญ
- ผีบุญ
- สมบุญ
- ส่วนบุญ
- สิ้นบุญ
- เสี่ยงบุญเสี่ยงกรรม
- หน้าบอกบุญไม่รับ
- หมดบุญ
- เอาบุญเอาคุณ