หนอก
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ʰnoːkᴰ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ໜອກ (หนอก), ภาษาไทใหญ่ ၼွၵ်ႇ (น่อ̂ก), ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง nok, ภาษาจ้วง nok
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | หฺนอก | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | nɔ̀ɔk |
ราชบัณฑิตยสภา | nok | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /nɔːk̚˨˩/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]หนอก
- ก้อนเนื้อที่ต้นคอของสัตว์บางชนิดเช่นวัว
- ก้อนเนื้อที่นูนขึ้นมาที่ต้นคอของคนบางคน
- เธออ้วนจนคอเป็นหนอก
- เนื้อใต้ท้องน้อย
- นุ่งผ้าขัดหนอก
ภาษาคำเมือง
[แก้ไข]คำนาม
[แก้ไข]หนอก
ภาษาอีสาน
[แก้ไข]คำนาม
[แก้ไข]หนอก
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɔːk̚
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- Pages with language headings in the wrong order
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมืองในอักษรไทย
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่ไม่มีรูปแบบอื่นในอักษรไทธรรม
- คำหลักภาษาอีสาน
- คำนามภาษาอีสาน