เค็ม
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]จากจีนเก่า 鹹 (OC *ɡrɯːm) หรือ 鹽 (OC *ɡ·lam, *ɡ·lams); ร่วมเชื้อสายกับคำเมือง ᨣᩮ᩠ᨾ (เคม), ลาว ເຄັມ (เคัม), ไทลื้อ ᦋᦲᧄ (ชีม), ไทดำ ꪹꪁꪸꪣ (เก̱ย̂ม), ไทใหญ่ ၸဵမ်း (เจ๊ม), พ่าเก ꩡ်ံ (จ์ํ) หรือ ꩡိမ် (จิม์), อาหม 𑜀𑜧𑜪 (กว์ํ) หรือ 𑜀𑜢𑜉𑜫 (กิม์), จ้วงแบบจั่วเจียง keemz (เค็ม/คีม), แสก แค๊ม
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | เค็ม | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | kem |
ราชบัณฑิตยสภา | khem | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /kʰem˧/(สัมผัส) |
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]เค็ม (คำอาการนาม ความเค็ม)
คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]มีรสอย่างรสเกลือ
คำกริยา
[แก้ไข]หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาจีนเก่า
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาอาหม/m
- สัมผัส:ภาษาไทย/em
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำคุณศัพท์ภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่สะกดด้วย ◌็
- รายการที่มีกล่องคำแปล
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาดัตช์/t+
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาไทดำ
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาไทดำ/t+
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาไทใหญ่/t+
- คำกริยาภาษาไทย
- th:การรับรส