ขำ

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: ขา, ข่า, และ ข้า

ภาษาไทย[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง kaem (ขำ, ดำ, เทา, คล้ำ, มืดมอง)

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์ขำ
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงkǎm
ราชบัณฑิตยสภาkham
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/kʰam˩˩˦/(สัมผัส)

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

ขำ (คำอาการนาม ความขำ)

  1. มีลักษณะหน้าตาคมชวนให้มอง
    งามขำ
    ดำขำ
  2. ขบขัน
    นึกขำ

ดูเพิ่ม[แก้ไข]

คำนาม[แก้ไข]

ขำ

  1. สิ่งหรือข้อความที่มีนัย ไม่ควรเปิดเผย
    แล้วทูลว่านางคันธมาลี ให้ข้านี้นำของมาถวาย เป็นความขำกำชับมามากมาย พลางยอบกายเข้าไปให้ใกล้ชิด
    (คาวี)

ภาษาคำเมือง[แก้ไข]

คำกริยา[แก้ไข]

ขำ (คำอาการนาม ก๋ารขำ or ก๋านขำ)

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᨡᩣᩴ (ขาํ)