ตั่ง
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *taŋᴮ¹, จากภาษาไทดั้งเดิม *taŋᴮ, จากภาษาจีนยุคกลาง 凳 (MC tongH); ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຕັ່ງ (ตั่ง), ภาษาไทลื้อ ᦎᧂᧈ (ตั่ง), ภาษาไทดำ ꪔꪰ꪿ꪉ (ตั่ง), ภาษาไทใหญ่ တင်ႇ (ตั่ง), ภาษาไทใต้คง ᥖᥒᥱ (ตั่ง), ภาษาอาหม 𑜄𑜂𑜫 (ตง์), ภาษาจ้วง daengq; เทียบภาษาเขมร តាំង (ตาํง)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ตั่ง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | dtàng |
ราชบัณฑิตยสภา | tang | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /taŋ˨˩/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]ตั่ง
- ที่สำหรับนั่งหรือวางของ ทรงเตี้ย ไม่มีพนัก พื้นเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสหรือสี่เหลี่ยมผืนผ้า ตามปรกติมี 4 ขา
คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- สัมผัส:ภาษาไทย/aŋ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- รายการที่มีกล่องคำแปล