พินทุ

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: พินทุ์ และ พื้นที่

ภาษาไทย[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์พิน-ทุ
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงpin-tú
ราชบัณฑิตยสภาphin-thu
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/pʰin˧.tʰuʔ˦˥/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษาบาลี พินฺทุ (หยาด, จุด); เทียบภาษาสันสกฤต बिन्दु (พินฺทุ) หรือ इन्दु (อินฺทุ), ภาษาฮินดี बिंदु (พิํทุ)

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

คำนาม[แก้ไข]

พินทุ

  1. หยาดเช่นหยาดน้ำ
  2. จุด
  3. จุดที่ใส่ไว้ใต้ตัวอักษรไทย
  4. (ศาสนาฮินดู) จุดกลมแต้มที่หน้าผากระหว่างคิ้วของผู้หญิงตามลัทธิพราหมณ์
  5. รูปวงเล็ก
คำประสม[แก้ไข]

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษาบาลี พินฺทุ (1049); เทียบภาษาสันสกฤต बिन्दु (พินฺทุ) หรือ विन्दु (วินฺทุ)

คำนาม[แก้ไข]

พินทุ

  1. ชื่อสังขยาจำนวนสูงเท่ากับโกฏิกำลัง 7 หรือเลขหนึ่งมีศูนย์ตามหลัง 49 ตัว