จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
U+0E21, ม
THAI CHARACTER MO MA

[U+0E20]
Thai
[U+0E22]
ดูเพิ่ม: ม., มิ, มี, มุ, มู่, และ มู๋

ภาษาร่วม[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

ตัวอักษร[แก้ไข]

  1. พยัญชนะในอักษรไทย ใช้แทนเสียง /m/ หรือเสียงที่ใกล้เคียงเช่น /ɱ/, เสียงนาสิกในสระ

ภาษาไทย[แก้ไข]

วิกิพีเดียมีบทความเกี่ยวกับ:
Wikipedia

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

  • (รหัสมอร์ส) --
  • (อักษรเบรลล์)
  • (ภาษามือ) M (เทียบเท่า ASL: M)

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์มอมอ-ม้า
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงmɔɔmɔɔ-máa
ราชบัณฑิตยสภาmomo-ma
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/mɔː˧/(สัมผัส)/mɔː˧.maː˦˥/(สัมผัส)
คำพ้องเสียงม.
มอ

ตัวอักษร[แก้ไข]

  1. พยัญชนะตัวที่ 33 เรียกว่าม้า เป็นอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กม

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

ย่อมาจากภาษาบาลี มารุต (ลม)

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์มะ
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิง
ราชบัณฑิตยสภาma
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/maʔ˦˥/(สัมผัส)

คำนาม[แก้ไข]

  1. ชื่อคณะฉันท์ มีครุล้วน เรียกว่า ม คณะ