แพ้
หน้าตา
ดูเพิ่ม: แพ
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *beːꟲ (“ชนะ; แพ้”), ซึ่งความหมายปัจจุบันกลับเป็นตรงข้ามกับความหมายโบราณ (ชนะ); ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨻᩯ᩶ (แพ้), ภาษาลาว ແພ້ (แพ้), ภาษาไทลื้อ ᦶᦗᧉ (แพ้), ภาษาไทใหญ่ ပေႉ (เป๎), ภาษาจ้วงใต้ pex(ชนะ สู้ได้ มากกว่า), ภาษาจ้วง bex
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | แพ้ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | pɛ́ɛ |
ราชบัณฑิตยสภา | phae | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /pʰɛː˦˥/(สัมผัส) |
คำกริยา
[แก้ไข]แพ้ (คำอาการนาม การแพ้ หรือ ความแพ้)
- (โบราณ) ชนะ
- อนนเรืองใสงามหนักหนา แพ้พระอาทิตย์(จารึกสยาม)
- สู้ไม่ได้, ทนไม่ได้, ตรงกันข้ามกับ ชนะ
- ผู้ที่มีเลือดเนื้อไม่ถูกกับสิ่งของหรือสัตว์บางอย่างก็เรียกว่า แพ้
- แพ้ยา
- แพ้ตะขาบ
คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]ไม่ชนะ
ภาษาคำเมือง
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /pɛː˦˥/
คำกริยา
[แก้ไข]แพ้ (คำอาการนาม การแพ้)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɛː
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำกริยาภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีนัยโบราณ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำกริยาภาษาคำเมือง
- คำกริยาภาษาคำเมืองในอักษรไทย
- คำสกรรมกริยาภาษาคำเมือง