漢字

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา

ภาษาจีนกลาง[แก้ไข]

汉字
ตัวย่อและตัวเต็ม
(漢字)

รากศัพท์[แก้ไข]

(ฮั่น, จีน) + (อักษร)

การออกเสียง[แก้ไข]



สัมผัส
อักขระ
การออกเสียงที่ 1/1 1/1
ต้นพยางค์ () (32) (15)
ท้ายพยางค์ () (61) (19)
วรรณยุกต์ (調) ตกลง (H) ตกลง (H)
พยางค์เปิด/ปิด (開合) เปิด เปิด
ส่วน () I III
ฝ่านเชี่ย
การบูรณะ
เจิ้งจาง ซ่างฟาง /hɑnH/ /d͡zɨH/
พาน อู้ยฺหวิน /hɑnH/ /d͡zɨH/
ซ่าว หรงเฟิน /xɑnH/ /d͡zieH/
เอดวิน พุลลีย์แบลงก์ /hanH/ /d͡zɨH/
หลี่ หรง /xɑnH/ /d͡ziəH/
หวาง ลี่ /xɑnH/ /d͡zĭəH/
เบอร์นาร์ด คาร์ลเกรน /xɑnH/ /d͡zʱiH/
แปลงเป็นจีนกลาง
ที่คาดหมาย
hàn

คำนาม[แก้ไข]

漢字 (แบบเต็ม, พินอิน hànzì, แบบย่อ 汉字)

  1. อักษรจีน, ฮั่นจื้อ, คันจิ (ญี่ปุ่น), ฮันจา (เกาหลี), ฮั่นทุ (เวียดนาม)

คำพ้องความ[แก้ไข]

ภาษาญี่ปุ่น[แก้ไข]

วิกิพีเดียภาษาญี่ปุ่นมีบทความเกี่ยวกับ:
Wikipedia ja
วิกิพีเดียมีบทความเกี่ยวกับ:
Wikipedia


คันจิในศัพท์นี้
かん
ระดับ: 3

ระดับ: 1
อนโยะมิ

คำนาม[แก้ไข]

漢字 (คันจิ) (ฮิระงะนะ かんじ, โรมะจิ kanji)

  1. คันจิ
  2. อักษรจีน