บท
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากสันสกฤต पद (ปท, “หนทาง, เท้า, เครื่องถึง”) หรือบาลี ปท (“หนทาง, เท้า, เครื่องถึง”); ร่วมเชื้อสายกับลาว ບົດ (บ็ด), คำเมือง ᨷᩫ᩠ᨴ (บ็ท)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ {เสียงพยัญชนะซ้ำ} | บด | [เสียงสมาส] บด-ทะ- | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | bòt | bòt-tá- |
ราชบัณฑิตยสภา | bot | bot-tha- | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /bot̚˨˩/(สัมผัส) | /bot̚˨˩.tʰa˦˥./ | |
คำพ้องเสียง |
คำนาม
[แก้ไข]บท
- ข้อความเรื่องหนึ่ง ๆ หรือตอนหนึ่ง ๆ
- บทที่ 1
- บทที่ 2
- กำหนดคำประพันธ์ที่ลงความตอนหนึ่ง ๆ
- โคลง 4 สุภาพ 4 บาท เป็น 1 บท
- คำที่ตัวละครพูด
- บอกบท
- คำประพันธ์ที่เขียนขึ้นสำหรับเล่นละคร มีทั้งบทร้องและบทเจรจา
- บอกบท
- เขียนบท
- คราว, ตอน
- บทจะทำก็ทำกันใหญ่
- บทจะไปก็ไปเฉย ๆ
- บทจะตายก็ตายง่ายเหลือเกิน
- (ร้อยกรอง) เท้า, รอยเท้า, ในบทกลอนใช้ประสมกับคำอื่น ๆ หมายความว่า เท้า
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาบาลี
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาบาลี
- สัมผัส:ภาษาไทย/ot̚
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีคำพ้องเสียง
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 2 พยางค์
- อุปสรรคภาษาไทย
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- ศัพท์ภาษาไทยที่ใช้ในบทร้อยกรอง