สูง
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *suːŋᴬ¹; เทียบภาษาจีนยุคกลาง 嵩 (MC sjuwng) หรือ 崧 (MC sjuwng); ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ສູງ (สูง), ภาษาคำเมือง ᩈᩪᨦ (สูง), ภาษาไทลื้อ ᦉᦳᧂ (สุง), ภาษาไทดำ ꪎꪴꪉ (สุง), ภาษาไทใหญ่ သုင် (สุง), ภาษาไทใต้คง ᥔᥧᥒᥴ (สู๋ง), ภาษาอ่ายตน ꩬုင် (สุง์), ภาษาพ่าเก ꩬုင် (สุง์), ภาษาอาหม 𑜏𑜤𑜂𑜫 (สุง์)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | สูง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | sǔung |
ราชบัณฑิตยสภา | sung | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /suːŋ˩˩˦/(สัมผัส) |
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]สูง (คำอาการนาม ความสูง)
- มีระยะที่วัดตรงขึ้นไปตามแนวตั้งฉากกับพื้น
- ต้นไม้สูง
- ภูเขาสูง
- เหนือระดับปรกติ
- อุณหภูมิสูง
- ไข้สูง
- ความสามารถสูง
- แหลม
- เสียงสูง
- ระดับเหนือเสียงกลาง
- อักษรสูง
- ตรงข้ามกับ ต่ำ
- จิตใจสูง
- ดี
- คุณภาพสูง
ภาษาคำเมือง
[แก้ไข]คำคุณศัพท์
[แก้ไข]สูง (คำอาการนาม กำสูง หรือ ความสูง)
- อีกรูปหนึ่งของ ᩈᩪᨦ (สูง)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- สัมผัส:ภาษาไทย/uːŋ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำคุณศัพท์ภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำคุณศัพท์ภาษาคำเมือง
- คำคุณศัพท์ภาษาคำเมืองในอักษรไทย