ข้ามไปเนื้อหา

เห็น

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: เหน และ เหิน

ภาษาไทย

[แก้ไข]

การออกเสียง

[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์เห็น
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงhěn
ราชบัณฑิตยสภาhen
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/hen˩˩˦/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1

[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *tranᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩉᩢ᩠ᨶ (หัน), ภาษาลาว ເຫັນ (เหัน), ภาษาไทลื้อ ᦠᧃ (หัน), ภาษาไทดำ ꪹꪬꪸꪙ (เหย̂น), ภาษาไทขาว ꪬꪲꪙ, ภาษาไทใหญ่ ႁၼ် (หัน), ภาษาไทใต้คง ᥞᥢᥴ (หั๋น), ภาษาอ่ายตน ꩭꩫ် (หน์), ภาษาอาหม 𑜑𑜃𑜫 (หน์), ภาษาปู้อี ranl, ภาษาจ้วง raen, ภาษาจ้วงแบบหนง taen, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง haen

คำกริยา

[แก้ไข]

เห็น (คำอาการนาม การเห็น)

  1. อาการของตาที่ประสบรูป, ปรากฏแก่ตา
  2. ปรากฏแก่ใจ, คิดรู้
ลูกคำ
[แก้ไข]
คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]

รากศัพท์ 2

[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ʰɲelᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน เหง็น, ภาษาลาว ເຫງັນ (เหงัน) หรือ ເຫັນ (เหัน), ภาษาคำเมือง ᩉᩮ᩠ᨶ (เหน), ภาษาเขิน ᩉᩮ᩠ᨶ (เหน), ภาษาไทลื้อ ᦠᦲᧃ (หีน), ภาษาไทดำ ꪹꪐꪸꪙ (เหฺญย̂น), ภาษาไทใหญ่ ႁဵၼ် (เหน), ภาษาไทใต้คง ᥞᥥᥢᥴ (เห๋น), ภาษาอาหม 𑜑𑜢𑜃𑜫 (หิน์), ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง heen (เห็น) หรือ hin (หิน)

คำนาม

[แก้ไข]

เห็น

  1. (อี~, นาง~, กระ~) ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ Viverridae ลำตัวเรียวยาว ขาสั้น หางยาว ปากแหลมยาว ออกหากินในเวลากลางคืน มีต่อมกลิ่นที่ก้นทำให้ตัวมีกลิ่นแรง กินสัตว์และผลไม้ มีหลายชนิด