หลวง
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ʰluəŋᴬ (“ใหญ่”); ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩉᩖ᩠ᩅᨦ (หลวง), ภาษาลาว ຫຼວງ (หลวง), ภาษาไทลื้อ ᦷᦜᧂ (โหฺลง), ภาษาไทดำ ꪨꪺꪉ (หฺลัวง), ภาษาไทขาว ꪨꪺꪉ, ภาษาไทใหญ่ လူင် (ลูง), ภาษาอาหม 𑜎𑜤𑜂𑜫 (ลุง์), ภาษาจ้วง lueng, ภาษาจ้วงแบบหนง long; เทียบภาษาไหลดั้งเดิม *C-luŋ
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | หฺลวง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | lǔuang |
ราชบัณฑิตยสภา | luang | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /lua̯ŋ˩˩˦/(สัมผัส) |
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]หลวง
คำนาม
[แก้ไข]หลวง
- บรรดาศักดิ์ข้าราชการ สูงกว่าขุน ต่ำกว่าพระ
- หลวงวิจิตรวาทการ
- (ภาษาปาก) คำเรียกพระภิกษุโดยความเคารพ
- หลวงปู่
- หลวงพี่
- หลวงน้า
- (ภาษาปาก) คำเรียกพระจีน พระญวน ว่า หลวงจีน หลวงญวน
- คำพ้องความของ เมียหลวง
คำสืบทอด
[แก้ไข]- → เขมร: ហ្លួង (หฺลัวง)
ภาษาคำเมือง
[แก้ไข]คำคุณศัพท์
[แก้ไข]หลวง (คำอาการนาม กำหลวง หรือ ความหลวง)
- อีกรูปหนึ่งของ ᩉᩖ᩠ᩅᨦ (หลวง)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- สัมผัส:ภาษาไทย/ua̯ŋ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำคุณศัพท์ภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่เป็นภาษาปาก
- th:ยศฐาบรรดาศักดิ์และชื่อเรียก
- th:การแต่งงาน
- th:เพศหญิง
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำคุณศัพท์ภาษาคำเมือง
- คำคุณศัพท์ภาษาคำเมืองในอักษรไทย