แอก
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากไทดั้งเดิม *ʔeːkᴰ, จากจีนยุคกลาง 軛 (MC 'eak); ร่วมเชื้อสายกับอีสาน แอก, ลาว ແອກ (แอก), คำเมือง ᩋᩯ᩠ᨠ (แอก), เขิน ᩋᩯ᩠ᨠ (แอก), ไทลื้อ ᦶᦀᧅ (แอก), ไทดำ ꪵꪮꪀ (แอก), ไทขาว ꪵꪮꪀ, ไทใหญ่ ဢႅၵ်ႇ (แอ่ก), ไทใต้คง ᥟᥦᥐᥱ (แอ่ก), อาหม 𑜒𑜢𑜀𑜫 (อิก์), จ้วง eg
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | แอก | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | ɛ̀ɛk |
ราชบัณฑิตยสภา | aek | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /ʔɛːk̚˨˩/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]แอก
- อุปกรณ์เพื่อการเกษตร ทำจากไม้รูปงอโค้งตามคอควายหรือวัว, ไม้วางขวางบนคอวัวหรือควายใช้ไถนา คราดนา หรือเทียมเกวียน เป็นต้น
- โดยปริยายหมายถึงการถูกกดขี่ ในคำว่า ปลดแอก
ภาษาญัฮกุร
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /ʔæːk/
คำนาม
[แก้ไข]แอก