น้อยหน่า
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมโดยกึ่งเรียนรู้จากภาษามาเลเซีย nona, จากภาษาสเปน anona[1]
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ {ไม่ตามอักขรวิธี; เสียงสระสั้น} | น้อย-หฺน่า | น็้อย-หฺน่า | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | nɔ́ɔi-nàa | nɔ́i-nàa |
ราชบัณฑิตยสภา | noi-na | noi-na | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /nɔːj˦˥.naː˨˩/(สัมผัส) | /nɔj˦˥.naː˨˩/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]น้อยหน่า
- ชื่อไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็กชนิด Annona squamosa L. ในวงศ์ Annonaceae ดอกสีเหลืองแกมเขียว กลีบดอกหนา มี 3 กลีบ ผลสีเขียว ผิวนูนเป็นตา ๆ เนื้อในผลหนาขาว รสหวาน มีเมล็ดสีดำอยู่มาก ถิ่นกำเนิดอยู่ในแถบอเมริกากลาง
- (ภาษาปาก, สแลง) ระเบิดมือ
คำพ้องความ
[แก้ไข]- (ระเบิด): น้อยหน่าเหล็ก
อ้างอิง
[แก้ไข]หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษามาเลเซีย
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมโดยกึ่งเรียนรู้จากภาษามาเลเซีย
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษามาเลเซีย
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาสเปน
- สัมผัส:ภาษาไทย/aː
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 2 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่เป็นภาษาปาก
- สแลงภาษาไทย
- th:ผลไม้
- th:วัตถุระเบิด