ปาราชิก
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาบาลี ปาราชิก (“ผู้ถึงความแพ้แล้ว”)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ปา-รา-ชิก | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | bpaa-raa-chík |
ราชบัณฑิตยสภา | pa-ra-chik | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /paː˧.raː˧.t͡ɕʰik̚˦˥/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]ปาราชิก
- (ศาสนาพุทธ) ชื่ออาบัติหนักที่สุดในพระวินัย เมื่อภิกษุล่วงละเมิดแม้เพียงข้อใดข้อหนึ่งต้องขาดจากความเป็นภิกษุทันที บวชเป็นภิกษุอีกไม่ได้ มี 4 ข้อ คือ 1. เสพเมถุน 2. ลักทรัพย์ 3. ฆ่ามนุษย์ 4. อวดอุตริมนุสธรรม
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]ปาราชิก
ภาษาบาลี
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]เขียนด้วยอักษรอื่น
- (อักษรละติน) pārājika
- (อักษรพราหมี) 𑀧𑀸𑀭𑀸𑀚𑀺𑀓 (ปาราชิก)
- (อักษรเทวนาครี) पाराजिक (ปาราชิก)
- (อักษรเบงกอล) পারাজিক (ปาราชิก)
- (อักษรสิงหล) පාරාජික (ปาราชิก)
- (อักษรพม่า) ပါရာဇိက (ปาราชิก) หรือ ပႃရႃၹိၵ (ปาราซิก)
- (อักษรไทย) ปาราชิกะ
- (อักษรไทธรรม) ᨷᩤᩁᩣᨩᩥᨠ (ปาราชิก) หรือ ᨸᩣᩁᩣᨩᩥᨠ (ปาราชิก)
- (อักษรลาว) ປາຣາຊິກ (ปาราชิก) หรือ ປາຣາຊິກະ (ปาราชิกะ)
- (อักษรเขมร) បារាជិក (ปาราชิก)
- (อักษรจักมา)
รากศัพท์
[แก้ไข]ปรา + ชิก หรือ ปรา (“กลับความ”) + ชิ + ณฺวุ หรือ ปรา + ชิ + อก หรือ ปรา + ชิ + ณิก
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]ปาราชิก
การผันรูป
[แก้ไข]ตารางการผันรูปของ "ปาราชิก" (เพศชาย)
การก \ พจน์ | เอกพจน์ | พหูพจน์ |
---|---|---|
กรรตุการก (ปฐมา) | ปาราชิโก | ปาราชิกา |
กรรมการก (ทุติยา) | ปาราชิกํ | ปาราชิเก |
กรณการก (ตติยา) | ปาราชิเกน | ปาราชิเกหิ หรือ ปาราชิเกภิ |
สัมปทานการก (จตุตถี) | ปาราชิกสฺส หรือ ปาราชิกาย หรือ ปาราชิกตฺถํ | ปาราชิกานํ |
อปาทานการก (ปัญจมี) | ปาราชิกสฺมา หรือ ปาราชิกมฺหา หรือ ปาราชิกา | ปาราชิเกหิ หรือ ปาราชิเกภิ |
สัมพันธการก (ฉัฏฐี) | ปาราชิกสฺส | ปาราชิกานํ |
อธิกรณการก (สัตตมี) | ปาราชิกสฺมิํ หรือ ปาราชิกมฺหิ หรือ ปาราชิเก | ปาราชิเกสุ |
สัมโพธนการก (อาลปนะ) | ปาราชิก | ปาราชิกา |
ตารางการผันรูปของ "ปาราชิกา" (เพศหญิง)
การก \ พจน์ | เอกพจน์ | พหูพจน์ |
---|---|---|
กรรตุการก (ปฐมา) | ปาราชิกา | ปาราชิกาโย หรือ ปาราชิกา |
กรรมการก (ทุติยา) | ปาราชิกํ | ปาราชิกาโย หรือ ปาราชิกา |
กรณการก (ตติยา) | ปาราชิกาย | ปาราชิกาหิ หรือ ปาราชิกาภิ |
สัมปทานการก (จตุตถี) | ปาราชิกาย | ปาราชิกานํ |
อปาทานการก (ปัญจมี) | ปาราชิกาย | ปาราชิกาหิ หรือ ปาราชิกาภิ |
สัมพันธการก (ฉัฏฐี) | ปาราชิกาย | ปาราชิกานํ |
อธิกรณการก (สัตตมี) | ปาราชิกาย หรือ ปาราชิกายํ | ปาราชิกาสุ |
สัมโพธนการก (อาลปนะ) | ปาราชิเก | ปาราชิกาโย หรือ ปาราชิกา |
ตารางการผันรูปของ "ปาราชิก" (เพศกลาง)
การก \ พจน์ | เอกพจน์ | พหูพจน์ |
---|---|---|
กรรตุการก (ปฐมา) | ปาราชิกํ | ปาราชิกานิ |
กรรมการก (ทุติยา) | ปาราชิกํ | ปาราชิกานิ |
กรณการก (ตติยา) | ปาราชิเกน | ปาราชิเกหิ หรือ ปาราชิเกภิ |
สัมปทานการก (จตุตถี) | ปาราชิกสฺส หรือ ปาราชิกาย หรือ ปาราชิกตฺถํ | ปาราชิกานํ |
อปาทานการก (ปัญจมี) | ปาราชิกสฺมา หรือ ปาราชิกมฺหา หรือ ปาราชิกา | ปาราชิเกหิ หรือ ปาราชิเกภิ |
สัมพันธการก (ฉัฏฐี) | ปาราชิกสฺส | ปาราชิกานํ |
อธิกรณการก (สัตตมี) | ปาราชิกสฺมิํ หรือ ปาราชิกมฺหิ หรือ ปาราชิเก | ปาราชิเกสุ |
สัมโพธนการก (อาลปนะ) | ปาราชิก | ปาราชิกานิ |
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาบาลี
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาบาลี
- สัมผัส:ภาษาไทย/ik̚
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 3 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- th:ศาสนาพุทธ
- คำคุณศัพท์ภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- ศัพท์ภาษาบาลีที่เติมอุปสรรค ปรา
- ศัพท์ภาษาบาลีที่เติมปัจจัย ณฺวุ
- ศัพท์ภาษาบาลีที่เติมปัจจัย อก
- ศัพท์ภาษาบาลีที่เติมปัจจัย ณิก
- คำหลักภาษาบาลี
- คำคุณศัพท์ภาษาบาลี
- คำคุณศัพท์ภาษาบาลีในอักษรไทย