มะเร็ง
หน้าตา
ดูเพิ่ม: มะเริง
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]อาจมาจากคำร่วมรากภาษาตระกูลไท หมาก (ตุ่ม) + เรง (ขนาดเล็ก) หมายถึงโรคเม็ดผื่นผิวหนังอักเสบ เทียบภาษาคำเมือง ᩉ᩠ᨾᩣ᩠ᨠᩁᩮ᩠ᨦ (หมากเรง, “โรคเนื้อร้ายที่เกิดขึ้นตามร่างกาย”) และภาษาไทใหญ่ မၢၵ်ႇႁဵင်း (ม่ากเห๊ง, “เนื้องอกร้ายแรง”)[1] หรืออาจยืมโดยกึ่งเรียนรู้จากภาษามาเลเซีย merengsa (เมอเร็งซา, “รักษาไม่หาย”);[2][3] เทียบภาษาเขมร ម្រេញ (มฺเรญ)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | มะ-เร็ง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | má-reng |
ราชบัณฑิตยสภา | ma-reng | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /ma˦˥.reŋ˧/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]มะเร็ง
- เนื้องอกชนิดร้าย เกิดขึ้นเพราะเซลล์แบ่งตัวอย่างรวดเร็ว ควบคุมไม่ได้แล้วแทรกไปตามเนื้อเยื่อข้างเคียง และสามารถหลุดจากแหล่งเริ่มต้นไปแบ่งตัวเพิ่มจำนวนที่บริเวณอื่น ๆ ได้ โดยมากมักรักษาไม่ค่อยหาย
คำสืบทอด
[แก้ไข]- → ลาว: ມະເຮັງ (มะเฮัง)
อ้างอิง
[แก้ไข]ภาษาปักษ์ใต้
[แก้ไข]คำนาม
[แก้ไข]มะเร็ง
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาคำเมือง
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาคำเมือง
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาไทใหญ่
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทใหญ่
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษามาเลเซีย
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมโดยกึ่งเรียนรู้จากภาษามาเลเซีย
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษามาเลเซีย
- สัมผัส:ภาษาไทย/eŋ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 2 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่สะกดด้วย ◌็
- Pages with language headings in the wrong order
- คำหลักภาษาปักษ์ใต้
- คำนามภาษาปักษ์ใต้
- การร้องขอความสนใจเกี่ยวกับภาษาปักษ์ใต้
- attention lacking explanation