ข้ามไปเนื้อหา

ดัง

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาไทย

[แก้ไข]

รูปแบบอื่น

[แก้ไข]

การออกเสียง

[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์ดัง
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงdang
ราชบัณฑิตยสภาdang
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/daŋ˧/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1

[แก้ไข]

สืบทอดจากไทดั้งเดิม *ɗaŋᴬ; ร่วมเชื้อสายกับคำเมือง ᨯᩢ᩠ᨦ (ดัง), ลาว ດັງ (ดัง), ไทลื้อ ᦡᧂ (ดัง), ไทใหญ่ လင်/ၼင် (ลัง/นัง) (ในคำ ၶူႈလင်/ၶူႈၼင် (ขู้ลัง/ขู้นัง)), ไทใต้คง ᥘᥒ (ลัง), อ่ายตน ဒင် (ดง์) หรือ ꩫင် (นง์), อาหม 𑜓𑜂𑜫 (ดง์) หรือ 𑜃𑜂𑜫 (นง์), ปู้อี ndangl, จ้วง ndaeng, จ้วงแบบจั่วเจียง ndaeng (ดัง-จมูก)

รูปแบบอื่น

[แก้ไข]

คำนาม

[แก้ไข]

ดัง

  1. (โบราณ, ร้อยกรอง) ดั้ง, จมูก

รากศัพท์ 2

[แก้ไข]

สืบทอดจากไทดั้งเดิม *ɗaŋᴬ; ร่วมเชื้อสายกัยจ้วง ndaeng

คำคุณศัพท์

[แก้ไข]

ดัง (คำอาการนาม ความดัง)

  1. เกิดเสียงขึ้นหรือทำให้เสียงเกิดขึ้นอย่างแรง
    กลองดัง
    เสียงดัง
  2. (ภาษาปาก) มีชื่อเสียง
    นักร้องดัง
    นักการเมืองคนดัง
  3. (ภาษาปาก) เป็นที่รู้จักหรือโจษขานกันทั่วไป
    ละครเรื่องนี้ดังมาก
    ข่าวดัง

คำกริยาวิเศษณ์

[แก้ไข]

ดัง (คำอาการนาม ความดัง)

  1. ทำให้เสียงบังเกิดขึ้นอย่างแรง
    พูดดัง

รากศัพท์ 3

[แก้ไข]

รูปแบบอื่น

[แก้ไข]

คำบุพบท

[แก้ไข]

ดัง

  1. เช่น, อย่าง, ราวกับ, คล้าย, เหมือน

ภาษาคำเมือง

[แก้ไข]

การออกเสียง

[แก้ไข]

คำกริยา

[แก้ไข]

ดัง (คำอาการนาม ก๋ารดัง หรือ ก๋านดัง)

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᨯᩢ᩠ᨦ (ดัง)

คำนาม

[แก้ไข]

ดัง

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᨯᩢ᩠ᨦ (ดัง)

คำคุณศัพท์

[แก้ไข]

ดัง (คำอาการนาม กำดัง หรือ ความดัง)

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᨯᩢ᩠ᨦ (ดัง)

ภาษาญ้อ

[แก้ไข]

คำนาม

[แก้ไข]

ดัง

  1. จมูก

ภาษาอีสาน

[แก้ไข]

คำนาม

[แก้ไข]

ดัง

  1. จมูก

ลูกคำ

[แก้ไข]