สอง
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]20[a], [b] | ||
← 1 | ๒ 2 |
3 → |
---|---|---|
เชิงการนับ: สอง เชิงอันดับที่: ที่สอง, รอง ตัวคูณ: สองเท่า เชิงรวบรวม: คู่ เศษส่วน (⅟…): ครึ่ง, ซีก |
รูปแบบอื่น
[แก้ไข]- (เลิกใช้) โสง
รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *sɔːŋᴬ¹ (Jonsson, 1991), จากไทดั้งเดิม *soːŋᴬ, จากจีนยุคกลาง 雙 (MC sraewng); ร่วมเชื้อสายกับคำเมือง ᩈᩬᨦ (สอง), ลาว ສອງ (สอง), ไทลื้อ ᦉᦸᧂ (สอ̂ง), ไทดำ ꪎꪮꪉ (สอง), ไทขาว ꪎꪮꪉ, ไทแดง ꪎꪮꪉ, ไทใหญ่ သွင် (สอ̂ง), ไทใต้คง ᥔᥩᥒᥴ (ส๋อ̂ง), ไทแหล่ง ꩬွꩼင်, คำตี้ ꩬွင်, อ่ายตน ꩬွင် (สอ̂ง์), พ่าเก ꩬွင် (สอ̂ง์), อาหม 𑜏𑜨𑜂𑜫 (สอ̂ง์), ปู้อี soongl, จ้วง song, ตั่ย sloong
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | สอง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | sɔ̌ɔng |
ราชบัณฑิตยสภา | song | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /sɔːŋ˩˩˦/(สัมผัส) |
เลข
[แก้ไข]สอง
คำพ้องความ
[แก้ไข]- ดูที่ อรรถาภิธาน:สอง
คำนาม
[แก้ไข]สอง
คำวิสามานยนาม
[แก้ไข]สอง
- ชื่ออำเภอหนึ่งในจังหวัดแพร่
คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]จำนวน 2
|
ดูเพิ่ม
[แก้ไข]หมวดหมู่:
- ไทย links with redundant alt parameters
- ไทย links with ignored alt parameters
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɔːŋ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- เลขภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- คำวิสามานยนามภาษาไทย
- th:อำเภอในไทย
- th:แพร่
- รายการที่มีกล่องคำแปล
- จีนกลาง terms with redundant transliterations
- หน้าที่มีคำแปลภาษานีวเว
- หน้าที่มีคำแปลภาษาฟีจี
- หน้าที่มีคำแปลภาษามาลากาซี
- นอซู terms with redundant transliterations
- หน้าที่มีคำแปลภาษานอซู
- แมนจู terms with redundant transliterations
- th:สอง