ข้ามไปเนื้อหา

ให้

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาไทย

[แก้ไข]

รูปแบบอื่น

[แก้ไข]

รากศัพท์

[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *haɰꟲ, จากภาษาจีนยุคกลาง (MC xjoX); ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน ให้, ภาษาลาว ໃຫ້ (ให้), ภาษาคำเมือง ᩉᩨ᩶ (หื้), ภาษาเขิน ᩉᩨ᩶ (หื้), ภาษาไทลื้อ ᦠᦹᧉ (หื้), ภาษาไทดำ ꪻꪬ꫁ (ให้), ภาษาไทใหญ่ ႁႂ်ႈ (ให้), ภาษาไทใต้คง ᥞᥬᥲ (ให้) หรือ ᥞᥫᥲ (เห้อ̂), ภาษาคำตี้ ꩭႂ်ႛ, ภาษาอ่ายตน ꩭၞ် (ให), ภาษาพ่าเก ꩭၞ် (ให), ภาษาอาหม 𑜑𑜧 (หว์), ภาษาปู้อี haec, ภาษาจ้วง hawj

การออกเสียง

[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์ไฮ่
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงhâi
ราชบัณฑิตยสภาhai
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/haj˥˩/(สัมผัส)
คำพ้องเสียงไห้

คำกริยา

[แก้ไข]

ให้ (คำอาการนาม การให้)

  1. มอบ
    ให้ช่อดอกไม้เป็นรางวัล
  2. สละ
    ให้ชีวิตเป็นทาน
  3. อนุญาต
    ฉันให้เขาไปเที่ยว
  4. เป็นคำช่วยกริยา บอกความบังคับหรืออวยชัยให้พรเป็นต้น
    แม่บอกให้ลูกไปนอน
    ขอให้เจริญรุ่งเรือง
    ขอให้เดินทางโดยสวัสดิภาพ
    แต่งตัวให้สวย ๆ นะ

คำแปลภาษาอื่น

[แก้ไข]

คำนาม

[แก้ไข]

ให้

  1. (กฎหมาย) ชื่อสัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่งเรียกว่า ผู้ให้ โอนทรัพย์สินของตนให้โดยเสน่หาแก่บุคคลอีกคนหนึ่งเรียกว่า ผู้รับ และผู้รับยอมรับเอาทรัพย์สินนั้น