กาว
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
ภาษาไทย[แก้ไข]
การออกเสียง[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์ | กาว | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | gaao |
ราชบัณฑิตยสภา | kao | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /kaːw˧/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1[แก้ไข]
จากภาษาจีนยุคกลาง 膠 (MC kˠau); ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ກາວ (กาว), ภาษาพม่า ကော် (เกา์), ภาษาเขมร កាវ (กาว), ภาษาเวียดนาม keo, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง gauq, ภาษาจ้วง gauq
คำนาม[แก้ไข]
กาว
รากศัพท์ 2[แก้ไข]
คำนาม[แก้ไข]
กาว
ภาษาญัฮกุร[แก้ไข]
รากศัพท์[แก้ไข]
จากภาษามอญ-เขมรดั้งเดิม *pkaaw ~ *pkaʔ; ร่วมเชื้อสายกับภาษามอญ ပ္ကဴ (ปฺเกา, “ดอกไม้”) และ ကဴ (เกา, “ออกดอก”), ภาษาเขมร ផ្កា (ผฺกา), ภาษาบะห์นัร pơkao
การออกเสียง[แก้ไข]
- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /kaːw/
คำนาม[แก้ไข]
กาว
ภาษาปักษ์ใต้[แก้ไข]
เลข[แก้ไข]
กาว
ภาษาอีสาน[แก้ไข]
คำนาม[แก้ไข]
กาว
หมวดหมู่:
- สัมผัส:ภาษาไทย/aːw
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียง IPA
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาญัฮกุรที่สืบทอดจากภาษามอญ-เขมรดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาญัฮกุรที่รับมาจากภาษามอญ-เขมรดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาญัฮกุรที่มีการออกเสียง IPA
- คำหลักภาษาญัฮกุร
- คำนามภาษาญัฮกุร
- คำหลักภาษาปักษ์ใต้
- เลขภาษาปักษ์ใต้
- คำหลักภาษาอีสาน
- คำนามภาษาอีสาน