บ่
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
ภาษาไทย[แก้ไข]
รากศัพท์[แก้ไข]
จากภาษาไทดั้งเดิม *boːᴮ (“ไม่”); ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน บ่, ภาษาลาว ບໍ່ (บํ่), ภาษาไทลื้อ ᦢᧁᧈ (เบ่า),ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง mboh, ภาษาจ้วง mbouj; เทียบภาษาหมิ่นใต้ 無 (บ๊อ, “ไม่มี”)
การออกเสียง[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์ | บ่อ | เบาะ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | bɔ̀ɔ | bɔ̀ |
ราชบัณฑิตยสภา | bo | bo | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /bɔː˨˩/(ส) | /bɔʔ˨˩/(ส) | |
คำพ้องเสียง | บ่อ |
คำกริยาวิเศษณ์[แก้ไข]
บ่
- (ภาษาหนังสือ, ร้อยกรอง, dialect) ไม่, มักใช้ในหนังสือเก่าหรือกวีนิพนธ์ หรือบางท้องถิ่น, ในที่ใช้ บ เมื่อใช้ว่า บ่ ก็มีความเช่นเดียวกัน
คำเกี่ยวข้อง[แก้ไข]
ภาษาอีสาน[แก้ไข]
คำกริยาวิเศษณ์[แก้ไข]
บ่
ภาษาคำเมือง[แก้ไข]
รากศัพท์[แก้ไข]
คำกริยาวิเศษณ์[แก้ไข]
บ่
หมวดหมู่:
- ภาษาไทย:สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ภาษาไทย:รากศัพท์จากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีคำพ้องเสียง
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียง IPA
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำกริยาวิเศษณ์ภาษาไทย
- ไทย terms with redundant head parameter
- ศัพท์ภาษาไทยที่เป็นภาษาหนังสือ
- ศัพท์ภาษาไทยที่ใช้ในบทร้อยกรอง
- dialectal termsภาษาไทย
- คำหลักภาษาอีสาน
- คำกริยาวิเศษณ์ภาษาอีสาน
- ภาษาคำเมือง:รากศัพท์จากภาษาอีสาน
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำกริยาวิเศษณ์ภาษาคำเมือง
- คำกริยาวิเศษณ์ภาษาคำเมืองในอักษรไทย