ยาย
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *naːjᴬ (“ยาย”); ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຍາຍ (ยาย), ภาษาไทใหญ่ ၼၢႆး (น๊าย); เทียบภาษาอินโดนีเซีย nyai, ภาษาเขมร យាយ (ยาย), ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง daiq, ภาษาจ้วง daiqหรือnaiq
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ยาย | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | yaai |
ราชบัณฑิตยสภา | yai | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /jaːj˧/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]ยาย (คำลักษณนาม คน)
- แม่ของแม่, เมียของตา
- หญิงที่เป็นญาติชั้นเดียวกับแม่ของแม่หรือที่อายุรุ่นราวคราวเดียวกับยาย
- (ภาษาปาก) คำเรียกหญิงสูงอายุอย่างไม่ค่อยเคารพนับถือ
- ยายป้า
- ยายแก่
- ยายคุณหญิง
- (ภาษาปาก) เรียกหญิงรุ่นราวคราวเดียวกันอย่างเป็นกันเอง
- ยายปุก
- ยายกุ้ง
- (ภาษาปาก) ใช้เรียกผู้หญิงที่อ่อนวัยกว่าอย่างเป็นกันเอง
- ยายหนู
หมายเหตุ
[แก้ไข]ในกรณีที่เรียกหญิงสาวที่อายุน้อยกว่าหรือรุ่นราวคราวเดียวกันในบางครั้งมักออกเสียงเป็น “ยัย”
ภาษาเขมรเหนือ
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /jaːj/
คำกริยา
[แก้ไข]ยาย
ภาษาคำเมือง
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /jaːj˧˧/
คำกริยา
[แก้ไข]ยาย (คำอาการนาม การยาย)
- อีกรูปหนึ่งของ ᩀᩣ᩠ᨿ (ย̱าย)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- สัมผัส:ภาษาไทย/aːj
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม คน
- พาลินโดรมภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่เป็นภาษาปาก
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- ศัพท์ภาษาเขมรเหนือที่ยืมมาจากภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาเขมรเหนือที่รับมาจากภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาเขมรเหนือที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาเขมรเหนือ
- คำกริยาภาษาเขมรเหนือ
- พาลินโดรมภาษาเขมรเหนือ
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำกริยาภาษาคำเมือง
- คำกริยาภาษาคำเมืองในอักษรไทย
- พาลินโดรมภาษาคำเมือง