สร
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์ 1
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาบาลี สร (“ศร”); เทียบภาษาสันสกฤต शर (ศร)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | สอน | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | sɔ̌ɔn |
ราชบัณฑิตยสภา | son | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /sɔːn˩˩˦/(สัมผัส) | |
คำพ้องเสียง | ศร สอน |
คำนาม
[แก้ไข]สร
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาบาลี สร (“ทิพย์, แกล้วกล้า”); เทียบภาษาสันสกฤต सुर (สุร)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | [เสียงสมาส] สอ-ระ- | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | sɔ̌ɔ-rá- |
ราชบัณฑิตยสภา | so-ra- | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /sɔː˩˩˦.ra˦˥./ |
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]สร
รากศัพท์ 3
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | สฺระ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | srà |
ราชบัณฑิตยสภา | sra | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /sraʔ˨˩/(สัมผัส) |
คำอนุภาค
[แก้ไข]สร
- คำนำหน้าคำอื่นที่ใช้ในบทกลอนเพื่อความสละสลวย เช่น ดื่น เป็น สรดื่น
- คำที่แผลงมาจากคำที่ขึ้นต้นด้วยตัว ส ซึ่งใช้ในบทกลอน เช่น สนุก เป็น สรนุก
รากศัพท์ 4
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | สอ-รอ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | sɔ̌ɔ-rɔɔ |
ราชบัณฑิตยสภา | so-ro | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /sɔː˩˩˦.rɔː˧/(สัมผัส) |
คำวิสามานยนาม
[แก้ไข]สร
- อักษรย่อของ สุรินทร์
ดูเพิ่ม
[แก้ไข]ภาษาบาลี
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]เขียนด้วยอักษรอื่น
คำนาม
[แก้ไข]สร ?
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]สร
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาบาลี
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาบาลี
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɔːn
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีคำพ้องเสียง
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 2 พยางค์
- อุปสรรคภาษาไทย
- คำคุณศัพท์ภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- สัมผัส:ภาษาไทย/aʔ
- คำอนุภาคภาษาไทย
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɔː
- คำวิสามานยนามภาษาไทย
- อักษรย่อภาษาไทย
- th:จังหวัดในไทย
- คำหลักภาษาบาลี
- คำนามภาษาบาลี
- คำนามภาษาบาลีในอักษรไทย
- Requests for gender in บาลี entries
- คำคุณศัพท์ภาษาบาลี
- คำคุณศัพท์ภาษาบาลีในอักษรไทย