ข้ามไปเนื้อหา

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
U+672C, 本
CJK UNIFIED IDEOGRAPH-672C

[U+672B]
CJK Unified Ideographs
[U+672D]

ภาษาร่วม

[แก้ไข]
ลำดับขีด

อักษรจีน

[แก้ไข]

(รากคังซีที่ 75, +1, 5 ขีด, การป้อนชางเจี๋ย 木一 (DM), การป้อนสี่มุม 50230, การประกอบ )

อักษรแผลง

[แก้ไข]

อ้างอิง

[แก้ไข]
  • พจนานุกรมคังซี: หน้า 509 อักขระตัวที่ 7
  • พจนานุกรมไดกังวะจิเต็ง: อักขระตัวที่ 14421
  • พจนานุกรมแทจาวอน: หน้า 891 อักขระตัวที่ 2
  • พจนานุกรมฮั่นยฺหวี่ต้าจื้อเตี่ยน (ฉบับพิมพ์ครั้งแรก): เล่ม 2 หน้า 1151 อักขระตัวที่ 1
  • ข้อมูลยูนิฮันสำหรับ U+672C

ภาษาจีน

[แก้ไข]
ตัวย่อและตัวเต็ม
รูปแบบอื่น

รากอักษร

[แก้ไข]
รูปในอดีตของตัวอักษร
ร. โจวตะวันตก ซัวเหวินเจี่ยจื้อ (แต่งใน ร. ฮั่น) ลิ่วซูถ่ง (แต่งใน ร. หมิง)
รอยจารึกสัมฤทธิ์ อักษรประทับเล็ก อักษรโบราณคัดลอก

มาจากอักษร (ต้นไม้) โดยเติมขีดกลางเข้าไป

การออกเสียง

[แก้ไข]

ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:wuu-pron บรรทัดที่ 195: Incorrect tone notation "2" for sh. See WT:AZH/Wu.

ความหมาย

[แก้ไข]

  1. ราก (พืช)
  2. ที่มา; จุดกำเนิด; ราก
  3. รากฐาน; พื้นฐาน
  4. ฉบับ; รุ่น; สำเนา
  5. เดิมที; แต่แรก
  6. ปัจจุบัน
      ―  běnnián  ―  ปีปัจจุบัน
  7. นี้; ตรงนี้
      ―  běnrén  ―  ฉัน (literally, “คนนี้”)
  8. คำลักษณนามใช้กับหนังสือ วารสาร ไฟล์ เป็นต้น: เล่ม
      ―  běn shū  ―  หนังสือหนึ่งเล่ม
    雜誌杂志  ―  běn zázhì  ―  นิตยสารหนึ่งเล่ม

คำพ้องความ

[แก้ไข]
  • (คำลักษณนาม เล่ม): (หมิ่นใต้) (gǔn)

คำตรงข้าม

[แก้ไข]

คำสืบทอด

[แก้ไข]
ซีโน-เซนิก ():

ภาษาอื่น ๆ:

  • ไทย: พื้น
  • เวียดนาม: vốn

คำประสม

[แก้ไข]

ภาษาญี่ปุ่น

[แก้ไข]

คันจิ

[แก้ไข]

(เคียวอิกูกันจิระดับ 1)

การออกเสียง

[แก้ไข]

คำประสม

[แก้ไข]

คำนาม

[แก้ไข]
คันจิในศัพท์นี้
ほん
ระดับ: 1
อนโยมิ

(ほん) (hon (คำลักษณนาม )

  1. หนังสือ