ฉบับ
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
ภาษาไทย[แก้ไข]
รูปแบบอื่น[แก้ไข]
- (เลิกใช้) ฉะบับ
รากศัพท์[แก้ไข]
จากภาษาเขมรกลาง ច្បាប្ប (จฺปาปฺป, “การประพฤติที่ถูกกำหนดไว้; คำสอน; ธรรมเนียม; ระเบียบวินัย; จรรยาบรรณ; กฎ; ข้อบังคับ; กฎหมาย”); เทียบภาษาเขมร ច្បាប់ (จฺบาบ̍)
การออกเสียง[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์ | ฉะ-บับ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | chà-bàp |
ราชบัณฑิตยสภา | cha-bap | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /t͡ɕʰa˨˩.bap̚˨˩/(สัมผัส) |
คำนาม[แก้ไข]
ฉบับ
- หนังสือเรื่องเดียวกันซึ่งมีข้อความหรือสำนวนแตกต่างกันเป็นต้น
- พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน
- ต้นเดิมของหนังสือที่พิมพ์หรือเขียน เรียกว่า ต้นฉบับ
คำลักษณนาม[แก้ไข]
ฉบับ