การ
หน้าตา
ดูเพิ่ม: ก๋าร
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาสันสกฤต कार (การ, “ทำ, ผู้ทำ”), จากภาษาบาลี การ (“ทำ, ผู้ทำ”)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | กาน | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | gaan |
ราชบัณฑิตยสภา | kan | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /kaːn˧/(สัมผัส) | |
คำพ้องเสียง | ||
ไฟล์เสียง |
คำนาม
[แก้ไข]การ
อุปสรรค
[แก้ไข]การ
- ถ้าอยู่หน้านาม หมายความว่า เรื่อง, ธุระ, หน้าที่
- การบ้าน
- การครัว
- การคลัง
- การเมือง
- ถ้าอยู่หน้ากริยา ทำกริยาให้เป็นอาการนาม
- การกิน
- การเดิน
ภาษาเขมรเหนือ
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]เทียบภาษาเขมร ការ (การ), ภาษาไทย การ
การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /kaːr/
คำนาม
[แก้ไข]การ
ภาษาคำเมือง
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /kaːn˨˦/
คำนาม
[แก้ไข]การ
- อีกรูปหนึ่งของ ᨠᩣ᩠ᩁ (การ)
ภาษาบาลี
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]เขียนด้วยอักษรอื่น
คำนาม
[แก้ไข]การ ช.
การผัน
[แก้ไข]ตารางการผันรูปของ "การ" (เพศชาย)
การก \ พจน์ | เอกพจน์ | พหูพจน์ |
---|---|---|
กรรตุการก (ปฐมา) | กาโร | การา |
กรรมการก (ทุติยา) | การํ | กาเร |
กรณการก (ตติยา) | กาเรน | กาเรหิ หรือ กาเรภิ |
สัมปทานการก (จตุตถี) | การสฺส หรือ การาย หรือ การตฺถํ | การานํ |
อปาทานการก (ปัญจมี) | การสฺมา หรือ การมฺหา หรือ การา | กาเรหิ หรือ กาเรภิ |
สัมพันธการก (ฉัฏฐี) | การสฺส | การานํ |
อธิกรณการก (สัตตมี) | การสฺมิํ หรือ การมฺหิ หรือ กาเร | กาเรสุ |
สัมโพธนการก (อาลปนะ) | การ | การา |
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาบาลี
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาบาลี
- สัมผัส:ภาษาไทย/aːn
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีคำพ้องเสียง
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีลิงก์เสียง
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- อุปสรรคภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาเขมรเหนือที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาเขมรเหนือ
- คำนามภาษาเขมรเหนือ
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมืองในอักษรไทย
- ศัพท์ภาษาบาลีที่เติมปัจจัย ณ
- คำหลักภาษาบาลี
- คำนามภาษาบาลี
- คำนามภาษาบาลีในอักษรไทย