ร้อง
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *rɔːŋꟲ⁴; ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน ฮ้อง, ภาษาลาว ຮ້ອງ (ฮ้อง), ภาษาคำเมือง ᩁᩬ᩶ᨦ (รอ้ง), ภาษาเขิน ᩁᩬ᩶ᨦ (รอ้ง), ภาษาไทลื้อ ᦣᦸᧂᧉ (ฮ้อ̂ง), ภาษาไทดำ ꪭ꫁ꪮꪉ (ฮ้อง), ภาษาไทใหญ่ ႁွင်ႉ (ห๎อ̂ง), ภาษาไทใต้คง ᥞᥩᥒᥳ (ห๎อ̂ง), ภาษาคำตี้ ꩭွင်ႇ, ภาษาพ่าเก ꩭွင် (หอ̂ง์), ภาษาอาหม 𑜍𑜨𑜂𑜫 (รอ̂ง์), ภาษาจ้วง rongx
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ร้อง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | rɔ́ɔng |
ราชบัณฑิตยสภา | rong | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /rɔːŋ˦˥/(สัมผัส) |
คำกริยา
[แก้ไข]ร้อง (คำอาการนาม การร้อง)