สาม
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์ 1
[แก้ไข]30 | ||
← 2 | ๓ 3 |
4 → |
---|---|---|
เชิงการนับ: สาม เชิงอันดับที่: ที่สาม ตัวคูณ: สามเท่า |
สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *sa:m, จากภาษาจีนยุคกลาง 三 (MC sam); ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩈᩣ᩠ᨾ (สาม), ภาษาลาว ສາມ (สาม), ภาษาไทลื้อ ᦉᦱᧄ (สาม), ภาษาไทดำ ꪎꪱꪣ (สาม), ภาษาไทใหญ่ သၢမ် (สาม), ภาษาไทใต้คง ᥔᥣᥛᥴ (ส๋าม), ภาษาอาหม 𑜏𑜪 (สํ), ภาษาปู้อี saaml, ภาษาจ้วง sam
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | สาม | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | sǎam |
ราชบัณฑิตยสภา | sam | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /saːm˩˩˦/(สัมผัส) |
เลข
[แก้ไข]สาม
คำพ้องความ
[แก้ไข]- ดูที่ อรรถาภิธาน:สาม
คำนาม
[แก้ไข]สาม
ลูกคำ
[แก้ไข]- กฎหมายตราสามดวง
- กบเต้นสามตอน
- กระต่ายสามขา
- กาสามปีก
- ไก่สามอย่าง
- ข้าวสามเดือน
- ครบสามสิบสอง
- คลองสามวา
- เครือพัดสาม
- ฆ้องสามย่าน
- เจ้าสามสี
- ฉัตรสามชั้น
- ชักซอสามสาย
- ชายสามโบสถ์
- ซอสามสาย
- ซ้ำสาม
- ดินดอนสามเหลี่ยม
- ทางสามแพร่ง
- ไทยนับสาม
- ธงสามชาย
- ธงสามเหลี่ยม
- บุคคลที่สาม
- ไปไหนมาสามวาสองศอก
- ผักสามหาว
- ผาสามเส้า
- พลอยสามสี
- ไพรสามกอ
- มะกอกสามตะกร้าปาไม่ถูก
- มือที่สาม
- มือสาม
- ไม้สามอัน
- ย่างสามขุม
- ยามสามตา
- ยืนกระต่ายสามขา
- รถสามล้อ
- รักสามเส้า
- รากสามสิบ
- สองสาม
- สามกษัตริย์
- สามเกลอ
- สามขา
- สามขุม
- สามคาน
- สามง่าม
- สามชั้น
- สามชาย
- สามชุก
- สามตา
- สามบาน
- สามใบเถา
- สามแพร่ง
- สามแยก
- สามรส
- สามล้อ
- สามลำคาน
- สามโลก
- สามวันดีสี่วันไข้
- สามสบ
- สามสลึงเฟื้อง
- สามสาย
- สามสิบ
- สามสิบกลีบ
- สามสี
- สามหมุด
- สามหยิบ
- สามหาบ
- สามหาว
- สามเหลี่ยม
- หญิงสามผัว
- หมูสามชั้น
- อกสามศอก
- เอ็มพีสาม
คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]จำนวน 3
|
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาสันสกฤต साम (สาม)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | [เสียงสมาส] สา-มะ- | [เสียงสมาส] สาม-มะ- | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | sǎa-má- | sǎam-má- |
ราชบัณฑิตยสภา | sa-ma- | sam-ma- | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /saː˩˩˦.ma˦˥./ | /saːm˩˩˦.ma˦˥./ |
คำนาม
[แก้ไข]สาม
หมวดหมู่:
- ไทย links with redundant alt parameters
- ไทย links with ignored alt parameters
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- สัมผัส:ภาษาไทย/aːm
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- เลขภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- รายการที่มีกล่องคำแปล
- หน้าที่มีคำแปลภาษากรีก
- หน้าที่มีคำแปลภาษาจอร์เจีย
- จีนกลาง terms with redundant transliterations
- หน้าที่มีคำแปลภาษาจีนกลาง
- หน้าที่มีคำแปลภาษาดัตช์
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาดัตช์/t+
- หน้าที่มีคำแปลภาษาตากาล็อก
- หน้าที่มีคำแปลภาษาตุรกี
- หน้าที่มีคำแปลภาษาทาจิก
- หน้าที่มีคำแปลภาษาทิเบต
- หน้าที่มีคำแปลภาษาบูร์ยัต
- หน้าที่มีคำแปลภาษาปัญจาบ
- หน้าที่มีคำแปลภาษาฝรั่งเศส
- หน้าที่มีคำแปลภาษาพม่า
- หน้าที่มีคำแปลภาษาฟรียูลี
- หน้าที่มีคำแปลภาษาฟินแลนด์
- หน้าที่มีคำแปลภาษามอลตา
- หน้าที่มีคำแปลภาษามากินดาเนา
- หน้าที่มีคำแปลภาษามาราเนา
- หน้าที่มีคำแปลภาษามาวรี
- หน้าที่มีคำแปลภาษายิดดิช
- หน้าที่มีคำแปลภาษาละติน
- หน้าที่มีคำแปลภาษาลักเซมเบิร์ก
- หน้าที่มีคำแปลภาษาลาว
- หน้าที่มีคำแปลภาษาสวีเดน
- หน้าที่มีคำแปลภาษาสโลวัก
- หน้าที่มีคำแปลภาษาสโลวีเนีย
- หน้าที่มีคำแปลภาษาอังกฤษ
- หน้าที่มีคำแปลภาษาอาร์มีเนีย
- หน้าที่มีคำแปลภาษาอาหรับ
- หน้าที่มีคำแปลภาษาอาเซอร์ไบจาน
- หน้าที่มีคำแปลภาษาอิตาลี
- นอซู terms with redundant transliterations
- หน้าที่มีคำแปลภาษานอซู
- หน้าที่มีคำแปลภาษาอุซเบก
- หน้าที่มีคำแปลภาษาอุยกูร์
- หน้าที่มีคำแปลภาษาฮังการี
- หน้าที่มีคำแปลภาษาฮาวาย
- หน้าที่มีคำแปลภาษาฮินดี
- หน้าที่มีคำแปลภาษาฮุนสริก
- หน้าที่มีคำแปลภาษาเขมร
- หน้าที่มีคำแปลภาษาเช็ก
- หน้าที่มีคำแปลภาษาเดนมาร์ก
- หน้าที่มีคำแปลภาษาเตตุน
- หน้าที่มีคำแปลภาษาเติร์กเมน
- หน้าที่มีคำแปลภาษาเปอร์เซีย
- หน้าที่มีคำแปลภาษาเยอรมัน
- หน้าที่มีคำแปลภาษาเวียดนาม
- หน้าที่มีคำแปลภาษาเอสโตเนีย
- หน้าที่มีคำแปลภาษาแบชเคียร์
- แมนจู terms with redundant transliterations
- หน้าที่มีคำแปลภาษาแมนจู
- หน้าที่มีคำแปลภาษาโรฮีนจา
- หน้าที่มีคำแปลภาษาไทลื้อ
- หน้าที่มีคำแปลภาษาไทใหญ่
- หน้าที่มีคำแปลภาษาไอริช
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 2 พยางค์
- อุปสรรคภาษาไทย
- th:สาม