อู่
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน อู่, ภาษาลาว ອູ່ (อู่), ภาษาคำเมือง ᩋᩪ᩵ (อู่), ภาษาเขิน ᩋᩪ᩵ (อู่), ภาษาไทลื้อ ᦀᦴᧈ (อู่), ภาษาไทดำ ꪮꪴ꪿ (อุ่), ภาษาไทใหญ่ ဢူႇ (อู่), ภาษาจ้วง uq (อู่), ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง wq (อื่อ, “อู่”)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | อู่ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | ùu |
ราชบัณฑิตยสภา | u | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /ʔuː˨˩/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]อู่
- เปลเด็ก, ราชาศัพท์ใช้ว่า พระอู่
- ที่เดิม ในคำว่า มดลูกเข้าอู่
- แหล่งที่เกิด
- อู่ข้าว
- อู่น้ำ
- ที่ที่ต่อหรือซ่อมรถหรือเรือ
- ที่ที่ไขน้ำเข้าออกได้ สำหรับเก็บเรือหรือซุง
ภาษาคำเมือง
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /ʔuː˨˩/
คำนาม
[แก้ไข]อู่
- อีกรูปหนึ่งของ ᩋᩪ᩵ (อู่)
ภาษาอีสาน
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- (ขอนแก่น) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /ʔuː˨˨/
- เทียบเสียงภาษาไทยโดยประมาณ: อูต่ำ-ระดับ (ประมาณ)
คำนาม
[แก้ไข]อู่