งิ้ว
ภาษาไทย[แก้ไข]
การออกเสียง[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์ | งิ้ว | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | ngíu |
ราชบัณฑิตยสภา | ngio | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /ŋiw˦˥/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1[แก้ไข]
สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ŋiːwꟲ⁴ (Jonsson, 1991); ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨦᩥ᩠᩶ᩅ (งิ้ว), ภาษาเขิน ᨦᩦ᩠᩶ᩅ (งี้ว), ภาษาอีสาน งิ้ว, ภาษาลาว ງີ້ວ (งี้ว), ภาษาไทลื้อ ᦇᦲᧁᧉ (งี้ว) หรือ ᦓᦲᧁᧉ (นี้ว), ภาษาไทใหญ่ ၼိဝ်ႉ (นิ๎ว), ภาษาไทใต้คง ᥘᥤᥝᥳ (ลี๎ว) หรือ ᥢᥤᥝᥳ (นี๎ว), ภาษาพ่าเก ꩫိဝ် (นิว์)
รูปแบบอื่น[แก้ไข]
คำนาม[แก้ไข]
งิ้ว
- ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิด Bombax ceiba L. ในวงศ์ Bombacaceae กิ่งก้านและลำต้นมีหนามแหลมคม เปลือกสีเทา ขรุขระ ดอกสีแดงสด ใช้ปุยในผลอย่างเดียวกับง้าว
รากศัพท์ 2[แก้ไข]
ยืมมาจากภาษาห่อยซัน 優/优 (yiu1, “นักแสดง”)[1]
คำนาม[แก้ไข]
งิ้ว
อ้างอิง[แก้ไข]
หมวดหมู่:
- สัมผัส:ภาษาไทย/iw
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- หน้าที่ใช้ชื่ออนุกรมวิธาน (ไม่รู้จัก)
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาห่อยซัน
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาห่อยซัน
- ศัพท์ที่มีการถอดอักษรด้วยมือต่างจากอัตโนมัติ/zhx-tai
- ภาษาไทย:พืช