หนาม

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: หน่าม

ภาษาไทย[แก้ไข]

หนาม

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์หฺนาม
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงnǎam
ราชบัณฑิตยสภาnam
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/naːm˩˩˦/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ʰnaːmᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩉ᩠ᨶᩣ᩠ᨾ (หนาม), ภาษาลาว ໜາມ (หนาม), ภาษาไทลื้อ ᦐᦱᧄ (หฺนาม), ภาษาไทใหญ่ ၼၢမ် (นาม), ภาษาไทดำ ꪘꪱꪣ (หฺนาม), ภาษาไทใต้คง ᥘᥣᥛᥴ (ล๋าม) หรือ ᥢᥣᥛᥴ (น๋าม), ภาษาจ้วง nam, ภาษาจ้วงแบบหนง nam

คำนาม[แก้ไข]

หนาม

  1. ส่วนแหลมที่งอกออกจากต้นหรือกิ่งของไม้บางชนิดเป็นต้น
    หนามงิ้ว
    หนามพุทรา
คำแปลภาษาอื่น[แก้ไข]

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

คำนาม[แก้ไข]

หนาม

  1. ชื่อหอยทะเลกาบเดี่ยวหลายชนิด ในวงศ์ Muricidae เปลือกมีหนามสั้นหรือยาวโดยรอบ เช่น ชนิด Murex Trapa Röding

ภาษาคำเมือง[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

คำนาม[แก้ไข]

หนาม

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᩉ᩠ᨶᩣ᩠ᨾ (หนาม)