ชั่ง
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ɟaŋᴮ, เป็นไปได้ว่ามาจากภาษาจีนยุคกลาง 秤 (MC tsyhingH, “ตราชู”) หรือ 稱 (MC tsyhing|tsyhingH, “ชั่งน้ำหนัก”); ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຊັ່ງ (ซั่ง), ภาษาไทลื้อ ᦋᧂᧈ (ชั่ง), ภาษาไทใหญ่ ၸင်ႈ (จั้ง), ภาษาจ้วง caengh
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ชั่ง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | châng |
ราชบัณฑิตยสภา | chang | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /t͡ɕʰaŋ˥˩/(สัมผัส) | |
ไฟล์เสียง |
คำนาม
[แก้ไข]ชั่ง
- มาตราเงินตามวิธีประเพณี 20 ตำลึงหรือ 80 บาท เป็น 1 ชั่ง
- ชื่อมาตราชั่งตามวิธีประเพณีแบบไทย 20 ตำลึง เป็น 1 ชั่ง หรือมีน้ำหนักเท่ากับ 1,200 กรัม
- ชื่อมาตราชั่งตามวิธีประเพณีแบบจีน มีน้ำหนักเท่ากับ 600 กรัม คือเป็นครึ่งหนึ่งของชั่งไทย
คำกริยา
[แก้ไข]ชั่ง (คำอาการนาม การชั่ง)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- สัมผัส:ภาษาไทย/aŋ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีลิงก์เสียง
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- คำกริยาภาษาไทย
- คำสกรรมกริยาภาษาไทย