เขียว
(เปลี่ยนทางจาก สีเขียว)
ภาษาไทย[แก้ไข]
รูปแบบอื่น[แก้ไข]
- (เลิกใช้) ขยว
การออกเสียง[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์ | เขียว | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | kǐao |
ราชบัณฑิตยสภา | khiao | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /kʰia̯w˩˩˦/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1[แก้ไข]
จากภาษาไทดั้งเดิม *xiəwᴬ; ร่วมเชื้อสายกับ ภาษาคำเมือง ᨡ᩠ᨿᩅ (ขยว), ภาษาปักษ์ใต้ เขี้ยว, ภาษาลาว ຂຽວ (ขย͢ว), ภาษาเขิน ᨡ᩠ᨿᩴ (ขยํ), ภาษาไทลื้อ ᦵᦃᧁ (เฃว), ภาษาไทดำ ꪵꪄꪫ (แฃว), ภาษาไทขาว ꪄꪸꪫ (ฃย͢ว), ภาษาไทใหญ่ ၶဵဝ် (เขว), ภาษาอาหม 𑜁𑜢𑜈𑜫 (ขิว์), ภาษาจ้วง heu, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง keu; เทียบภาษาเขมรเก่า khiava (“น้ำเงิน; เขียว”), ภาษาเขมร ខៀវ (เขียว), ภาษาไหลดั้งเดิม *kʰiːw (“น้ำเงิน”)
คำคุณศัพท์[แก้ไข]
เขียว (คำอาการนาม ความเขียว)
คำเกี่ยวข้อง[แก้ไข]
ดูเพิ่ม[แก้ไข]
สีในภาษาไทย | ||||
---|---|---|---|---|
แดง | เขียว | เหลือง | ครีม | ขาว |
เลือดหมู | บานเย็น | น้ำเงินอมเขียว | มะนาว | ชมพู |
คราม | น้ำเงิน | ส้ม | เทา | เม็ดมะปราง |
ดำ | ม่วง | น้ำตาล | ฟ้า | ฟ้าอมเขียว |
รากศัพท์ 2[แก้ไข]
จากภาษาไทดั้งเดิม *xwiːwᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຂີວ (ขีว), ภาษาไทใหญ่ ၶဵဝ် (เขว)
คำคุณศัพท์[แก้ไข]
เขียว (คำอาการนาม ความเขียว)
รากศัพท์ 3[แก้ไข]
จากผิวของสัตว์ที่มีสีเขียว
คำนาม[แก้ไข]
เขียว
- ชื่องูสีเขียวหลายชนิดและหลายวงศ์ เช่น เขียวพระอินทร์ (Chrysopelea ornata) เขียวหางไหม้ท้องเหลือง (Trimeresurus albolabris)
คำเกี่ยวข้อง[แก้ไข]
รากศัพท์ 4[แก้ไข]
ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຂຽວ (ขย͢ว)
คำกริยา[แก้ไข]
เขียว