เวท
ภาษาไทย[แก้ไข]
รูปแบบอื่น[แก้ไข]
รากศัพท์[แก้ไข]
ยืมมาจากภาษาสันสกฤต वेद (เวท) หรือภาษาบาลี เวท
การออกเสียง[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์ | เวด | [เสียงสมาส] เว-ทะ- | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | wêet | wee-tá- |
ราชบัณฑิตยสภา | wet | we-tha- | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /weːt̚˥˩/(สัมผัส) | /weː˧.tʰa˦˥./ | |
คำพ้องเสียง |
คำนาม[แก้ไข]
เวท
- (ภาษาหนังสือ) (พระ~) ความรู้
- (ภาษาหนังสือ) (พระ~) ความรู้ทางศาสนา
- ถ้อยคำศักดิ์สิทธิ์ที่ผูกขึ้นเป็นมนต์หรือคาถาอาคม เมื่อนำมาเสกเป่าหรือบริกรรมตามลัทธิวิธีที่มีกำหนดไว้ สามารถให้ร้ายหรือดี หรือป้องกันอันตรายต่าง ๆ ตามคติไสยศาสตร์ได้
- ร่ายเวท
การใช้[แก้ไข]
บางทีก็ใช้เข้าคู่กับคำ มนตร์ เป็น เวทมนตร์
คำวิสามานยนาม[แก้ไข]
เวท
- (ศาสนาฮินดู) (พระ~) ชื่อคัมภีร์ภาษาสันสกฤตโบราณซึ่งเป็นพื้นฐานของศาสนาพราหมณ์ยุคแรก มี 4 คัมภีร์ ได้แก่ ฤคเวท ยชุรเวท สามเวท อถรรพเวท/อาถรรพเวท
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาบาลี
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาบาลี
- สัมผัส:ภาษาไทย/eːt̚
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีคำพ้องเสียง
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 2 พยางค์
- อุปสรรคภาษาไทย
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่เป็นภาษาหนังสือ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- คำวิสามานยนามภาษาไทย
- ภาษาไทย:ศาสนาฮินดู