ເປ້ງ
หน้าตา
ภาษาลาว
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- (เวียงจันทน์) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): [peːŋ˥˨]
- (หลวงพระบาง) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): [peːŋ˧˦]
- การแบ่งพยางค์: ເປ້ງ
- สัมผัส: -eːŋ
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับไทย เป้ง, คำเมือง ᨸᩮ᩠᩶ᨦ (เป้ง), เขิน ᨸᩮ᩠᩶ᨦ (เป้ง)
คำนาม
[แก้ไข]ເປ້ງ • (เป้ง)
- เป้ง (Phoenix ในวงศ์ Palmae) มีหลายชนิดได้แก่ P. humilis Royle, P. roebilini O'Brien (ไม้ประดับในลาวถิ่นเหนือ) และ P. acaulis Ham, ไม้พุ่มชนิดหนึ่ง ใบคล้ายใบหวาย รากเป็นเส้นยาวและมั่นคง ใช้เป็นสายดีดได้, ไม้เถาชนิดหนึ่งคล้ายหวาย
- เป้งดอย (Phoenix humilis Royle)
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับคำเมือง ᨸᩮ᩠᩶ᨦ (เป้ง), เขิน ᨸᩮ᩠᩶ᨦ (เป้ง)
คำนาม
[แก้ไข]ເປ້ງ • (เป้ง)
- เครื่องชั่งน้ำหนักโบราณ เหมือนกับตาเต็ง, เครื่องชั่งโบราณสำหรับฝิ่นหรือทอง
- (เลิกใช้) ลูกตุ้มน้ำหนัก, น้ำหนักถ่วง (สำหรับเครื่องชั่งทองหรือฝิ่น เป็นต้น)
- ตุ้มของตาเต็ง
รากศัพท์ 3
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับไทย เป้ง, อีสาน เป้ง
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]ເປ້ງ • (เป้ง) (คำอาการนาม ຄວາມເປ້ງ)
ลูกคำ
[แก้ไข]- ແມ່ເປ້ງ (แม่เป้ง)
รากศัพท์ 4
[แก้ไข]คำนาม
[แก้ไข]ເປ້ງ • (เป้ง)
อ้างอิง
[แก้ไข]- SEAlang library Lao lexicography. SEAlang Projects. http://sealang.net/lao/dictionary.htm
- SEAlang library Maha Sila 1960 Lao dictionary. SEAlang Projects. http://sealang.net/dictionary/sila/