ข้ามไปเนื้อหา

ทศ

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: ทิศ

ภาษาไทย

[แก้ไข]

รากศัพท์ 1

[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษาสันสกฤต दश (ทศ, สิบ); เทียบภาษาบาลี ทส (สิบ)

การออกเสียง

[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์ทด[เสียงสมาส]
ทด-สะ-
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงtóttót-sà-
ราชบัณฑิตยสภาthotthot-sa-
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/tʰot̚˦˥/(สัมผัส)/tʰot̚˦˥.sa˨˩./
คำพ้องเสียงทด
ทท

เลข

[แก้ไข]

ทศ

  1. สิบ, มักใช้เป็นส่วนหน้าสมาส

คำนาม

[แก้ไข]

ทศ

  1. เรียกเหรียญทองสมัยรัชกาลที่ 4 ชนิดหนึ่ง มีค่าเท่ากับ 1 ใน 10 ของชั่ง = 8 บาท ว่า ทองทศ
ลูกคำ
[แก้ไข]
ดูเพิ่ม
[แก้ไข]

รากศัพท์ 2

[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษาสันสกฤต दशा (ทศา, ชายผ้า)

การออกเสียง

[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์ทด
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงtót
ราชบัณฑิตยสภาthot
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/tʰot̚˦˥/(สัมผัส)
คำพ้องเสียงทด
ทท

คำนาม

[แก้ไข]

ทศ

  1. ชายผ้า, ชายครุย
ดูเพิ่ม
[แก้ไข]