สิบ
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]← 1 | ← 9 | ๑๐ 10 |
11 → [a], [b] | 20 → [a], [b] |
---|---|---|---|---|
1 | ||||
เชิงการนับ: สิบ เชิงอันดับที่: ที่สิบ ตัวคูณ: สิบเท่า |
รากศัพท์
[แก้ไข]จากจีนยุคกลาง 十 (MC dzyip); ร่วมเชื้อสายกับอีสาน สิบ, ลาว ສິບ (สิบ), คำเมือง ᩈᩥ᩠ᨷ (สิบ), ไทลื้อ ᦉᦲᧇ (สีบ), ไทดำ ꪎꪲꪚ (สิบ), ไทใหญ่ သိပ်း (สิ๊ป), ไทใต้คง ᥔᥤᥙᥴ (สี๋ป), อาหม 𑜏𑜢𑜆𑜫 (สิป์), ปู้อี xib, จ้วง cib, แสก ซิ̄บ
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | สิบ | |
---|---|---|
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | sìp |
ราชบัณฑิตยสภา | sip | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /sip̚˨˩/(สัมผัส) |
เลข
[แก้ไข]สิบ
คำพ้องความ
[แก้ไข]- ดูที่ อรรถาภิธาน:สิบ
คำสืบทอด
[แก้ไข]คำนาม
[แก้ไข]สิบ
- เรียกเดือนที่ 10 ทางจันทรคติ ว่า เดือน 10 ตกในราวเดือนกันยายน
- ยศทหารบกหรือตำรวจชั้นประทวน ต่ำกว่าจ่า
- สิบตรี
- สิบตำรวจโท
ลูกคำ
[แก้ไข]- ครบสามสิบสอง
- จ่าสิบตรี
- จ่าสิบตำรวจ
- จ่าสิบโท
- จ่าสิบเอก
- ทรงสิบหน้า
- บอกเล่าเก้าสิบ
- แปดเหลี่ยมสิบสองคม
- เพลงออกสิบสองภาษา
- ไม่ได้สิบ
- รถสิบล้อ
- รากสามสิบ
- เศษสิบ
- สามสิบ
- สามสิบกลีบ
- สิบตรี
- สิบตำรวจตรี
- สิบตำรวจโท
- สิบตำรวจเอก
- สิบโท
- สิบเบี้ยใกล้มือ
- สิบปากว่าไม่เท่าตาเห็น
- สิบแปดมงกุฎ
- สิบพ่อค้าไม่เท่าพระยาเลี้ยง
- สิบสองพระกำนัล
- สิบห้าหยก ๆ สิบหกหย่อน ๆ
- สิบเหลี่ยม
- สิบเอก
- ห้าบาทสิบบาท
- ออกสิบสองภาษา
คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]จำนวน 10
|
ภาษาคำเมือง
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /sip˨˦/
เลข
[แก้ไข]สิบ
- อีกรูปหนึ่งของ ᩈᩥ᩠ᨷ (สิบ)
หมวดหมู่:
- ไทย links with redundant alt parameters
- ไทย links with ignored alt parameters
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- สัมผัส:ภาษาไทย/ip̚
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- เลขภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- รายการที่มีกล่องคำแปล
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาจ้วง/t
- จีนกลาง terms with redundant transliterations
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาโปรตุเกส/t+
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษามาเลเซีย/t+
- แมนจู terms with redundant transliterations
- th:สิบ
- th:ยศ
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาคำเมือง
- เลขภาษาคำเมือง
- เลขภาษาคำเมืองในอักษรไทย