เมี่ยง
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับคำเมือง ᩉ᩠ᨾ᩠ᨿ᩶ᨦ (หมย้ง), เขิน ᩉ᩠ᨾ᩠ᨿ᩶ᨦ (หมย้ง), ลาว ໝ້ຽງ (หม้ย̂ง), ไทลื้อ ᦵᦖᧂᧉ (เหฺม้ง)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | เมี่ยง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | mîiang |
ราชบัณฑิตยสภา | miang | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /mia̯ŋ˥˩/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]เมี่ยง
- ชื่อต้นไม้ขนาดเล็กชนิด Camellia sinensis (L.) Kuntze var. assamica (Mast.) Kitam ในวงศ์ Theaceae ขึ้นตามเขาในภาคเหนือเขตร้อน ใบนำมาหมักใช้เคี้ยวหรืออม
- ของกินเล่นที่ใช้ใบไม้บางชนิด เช่น ใบชาหมัก ใบชะพลู ใบทองหลาง ห่อเครื่อง มีถั่วลิสง มะพร้าว กุ้งแห้ง หัวหอม ขิง เป็นต้น มีหลายชนิด เรียกชื่อต่าง ๆ กัน
- เมี่ยงคำ
- เมี่ยงลาว
- เมี่ยงส้ม
ภาษาคำเมือง
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /miaŋ˦˦ʔ/
คำนาม
[แก้ไข]เมี่ยง
- อีกรูปหนึ่งของ ᩉ᩠ᨾ᩠ᨿ᩶ᨦ (หมย้ง)