ข้ามไปเนื้อหา

เลื่อม

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาไทย

[แก้ไข]

รูปแบบอื่น

[แก้ไข]

รากศัพท์

[แก้ไข]

สืบทอดจากไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ʰlɯəmꟲ¹; ร่วมเชื้อสายกับคำเมือง ᩉᩖᩮᩬᩥ᩶ᨾ (หเลอิ้ม), เขิน ᩉᩖᩮᩨ᩶ᨾ (หเลื้ม), อีสาน เหลื้อม, ลาว ເຫຼື້ອມ (เหลื้อม), ไทลื้อ ᦵᦜᦲᧄᧉ (เหฺลี้ม), ไทดำ ꪹꪨ꫁ꪣ (เหฺล้ม), ไทใหญ่ လိူမ်ႈ (เลิ้ม), ไทใต้คง ᥘᥫᥛᥲ (เล้อ̂ม), อาหม 𑜎𑜢𑜤𑜉𑜫 (ลึม์)

การออกเสียง

[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์เลื่อม
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงlʉ̂ʉam
ราชบัณฑิตยสภาlueam
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/lɯa̯m˥˩/(สัมผัส)

คำคุณศัพท์

[แก้ไข]

เลื่อม (คำอาการนาม ความเลื่อม)

  1. เป็นเงามัน

ลูกคำ

[แก้ไข]

คำนาม

[แก้ไข]

เลื่อม

  1. วัสดุสำหรับปักลวดลายลงบนผ้า มักมีลักษณะบางเป็นรูปกลมแบนเล็กตรงกลางมีรู เป็นเงามันสำหรับใช้ปักลวดลาย เช่นเสื้อโขนตัวทศกัณฐ์ พระราม พระลักษมณ์เป็นต้น