โคจร
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]เป็นไปได้ว่ายืมมาจากภาษาเขมรกลาง គោចរ (โคจร), จากภาษาสันสกฤต गोचर (โคจร, “ทุ่งเลี้ยงวัว (ที่เที่ยวไปของวัว); ระยะ”) หรือภาษาบาลี โคจร (“idem”)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | โค-จอน | [เสียงสมาส] โค-จะ-ระ- | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | koo-jɔɔn | koo-jà-rá- |
ราชบัณฑิตยสภา | kho-chon | kho-cha-ra- | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /kʰoː˧.t͡ɕɔːn˧/(สัมผัส) | /kʰoː˧.t͡ɕa˨˩.ra˦˥./ |
คำนาม
[แก้ไข]โคจร
คำกริยา
[แก้ไข]โคจร (คำอาการนาม การโคจร)
- (ดาราศาสตร์) เดินไปตามวิถี, คำนี้โดยมากใช้แก่ดาวนพเคราะห์, เมื่อว่าเฉพาะทางที่พระอาทิตย์โคจร มีจุดสุดอยู่ 6 แห่งที่อยู่ตรงข้ามกันเป็นคู่ ๆ คือ ครีษมายัน กับ เหมายัน คู่หนึ่ง, วสันตวิษุวัต กับ ศารทวิษุวัต คู่หนึ่ง, พสุสงกรานต์ 2 แห่ง คู่หนึ่ง
- ดวงอาทิตย์โคจร
- ดวงจันทร์โคจรรอบโลก
- เที่ยว
- โคจรมาพบกัน
ลูกคำ
[แก้ไข]หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาเขมรกลาง
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาเขมรกลาง
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาบาลี
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɔːn
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 2 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 3 พยางค์
- อุปสรรคภาษาไทย
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- th:ศาสนาพุทธ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- คำกริยาภาษาไทย
- th:ดาราศาสตร์