จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
U+7A7A, 空
CJK UNIFIED IDEOGRAPH-7A7A

[U+7A79]
CJK Unified Ideographs
[U+7A7B]

🈳 U+1F233, 🈳
SQUARED CJK UNIFIED IDEOGRAPH-7A7A
🈲
[U+1F232]
Enclosed Ideographic Supplement 🈴
[U+1F234]

ภาษาร่วม[แก้ไข]

อักษรจีน[แก้ไข]

(รากคังซีที่ 116, +3, 8 ขีด, การป้อนชางเจี๋ย 十金一 (JCM), การป้อนสี่มุม 30101, การประกอบ )

  1. ว่าง, กลวง, เปล่า, ร้าง

อ้างอิง[แก้ไข]

  • พจนานุกรมคังซี: หน้า 863 อักขระตัวที่ 1
  • พจนานุกรมไดกังวะจิเต็ง: อักขระตัวที่ 25415
  • พจนานุกรมแทจาวอน: หน้า 1289 อักขระตัวที่ 8
  • พจนานุกรมฮั่นยฺหวี่ต้าจื้อเตี่ยน (ฉบับพิมพ์ครั้งแรก): เล่ม 4 หน้า 2719 อักขระตัวที่ 8
  • ข้อมูลยูนิฮันสำหรับ U+7A7A

ภาษาจีน[แก้ไข]

ตัวเต็ม
ตัวย่อ #
รูปแบบอื่น 𠀝
𫞹

การออกเสียง 1[แก้ไข]


หมายเหตุ:
  • kĕ̤ng - vernacular;
  • kŭng - literary.
  • หมิ่นใต้
  • หมายเหตุ:
    • khang - vernacular;
    • khong - literary.
    หมายเหตุ:
    • kang1 - vernacular;
    • kong1 - literary.
  • อู๋

    • ข้อมูลภาษาถิ่น
    สำเนียง สถานที่
    จีนกลาง ปักกิ่ง /kʰuŋ⁵⁵/
    ฮาเอ่อร์ปิน /kʰuŋ⁴⁴/
    เทียนจิน /kʰuŋ²¹/
    จี่หนาน /kʰuŋ²¹³/
    ชิงเต่า /kʰəŋ²¹³/
    เจิ้งโจว /kʰuŋ²⁴/
    ซีอาน /kʰuŋ²¹/
    ซีหนิง /kʰuə̃⁴⁴/
    อิ๋นชวน /kʰuŋ⁴⁴/
    หลานโจว /kʰũn³¹/
    อุรุมชี /kʰuŋ⁴⁴/
    อู่ฮั่น /kʰoŋ⁵⁵/
    เฉิงตู /kʰoŋ⁵⁵/
    กุ้ยหยาง /kʰoŋ⁵⁵/
    คุนหมิง /kʰoŋ⁴⁴/
    หนานจิง /kʰoŋ³¹/
    เหอเฝย์ /kʰəŋ²¹/
    จิ้น ไท่หยวน /kʰuəŋ¹¹/
    ผิงเหยา /kʰuŋ¹³/
    ฮูฮอต /kʰũŋ³¹/
    อู๋ เซี่ยงไฮ้ /kʰoŋ⁵³/
    ซูโจว /kʰoŋ⁵⁵/
    หางโจว /kʰoŋ³³/
    เวินโจว /kʰoŋ³³/
    หุย เซ่อเสี้ยน /kʰuʌ̃³¹/
    ถุนซี /kʰan¹¹/
    เซียง ฉางชา /kʰoŋ³³/
    เซียงถาน /kʰən³³/
    กั้น หนานชาง /kʰuŋ⁴²/
    แคะ เหมยเซี่ยน /kʰuŋ⁴⁴/
    เถาหยวน /kʰuŋ²⁴/
    กวางตุ้ง กวางเจา /hoŋ⁵³/
    หนานหนิง /huŋ⁵⁵/
    ฮ่องกง /huŋ⁵⁵/
    หมิ่น เซี่ยเหมิน (หมิ่นใต้) /kʰɔŋ⁵⁵/
    /kʰaŋ⁵⁵/
    ฝูโจว (หมิ่นตะวันออก) /kʰøyŋ⁴⁴/
    เจี้ยนโอว (หมิ่นเหนือ) /kʰɔŋ⁵⁴/
    /kɔŋ³³/ ~闲
    ซัวเถา (หมิ่นใต้) /kʰoŋ³³/
    /kʰaŋ³³/
    ไหโข่ว (หมิ่นใต้) /xoŋ²³/
    /xaŋ²³/

    สัมผัส
    อักขระ
    การออกเสียงที่ 1/2
    ต้นพยางค์ () (29)
    ท้ายพยางค์ () (1)
    วรรณยุกต์ (調) Level (Ø)
    พยางค์เปิด/ปิด (開合) Open
    ส่วน () I
    ฝ่านเชี่ย
    แบกซเตอร์ khuwng
    การสืบสร้าง
    เจิ้งจาง ซ่างฟาง /kʰuŋ/
    พาน อู้ยฺหวิน /kʰuŋ/
    ซ่าว หรงเฟิน /kʰuŋ/
    เอดวิน พุลลีย์แบลงก์ /kʰəwŋ/
    หลี่ หรง /kʰuŋ/
    หวาง ลี่ /kʰuŋ/
    เบอร์นาร์ด คาร์ลเกรน /kʰuŋ/
    แปลงเป็นจีนกลาง
    ที่คาดหมาย
    kōng
    แปลงเป็นกวางตุ้ง
    ที่คาดหมาย
    hung1
    ระบบแบกซ์เตอร์ซาการ์ 1.1 (2014)
    อักขระ
    การออกเสียงที่ 1/2
    ปักกิ่งใหม่
    (พินอิน)
    kōng
    จีนยุคกลาง ‹ khuwng ›
    จีนเก่า /*kʰˁoŋ/
    อังกฤษ hollow, empty; hole

    Notes for Old Chinese notations in the Baxter–Sagart system:

    * Parentheses "()" indicate uncertain presence;
    * Square brackets "[]" indicate uncertain identity, e.g. *[t] as coda may in fact be *-t or *-p;
    * Angle brackets "<>" indicate infix;
    * Hyphen "-" indicates morpheme boundary;

    * Period "." indicates syllable boundary.
    ระบบเจิ้งจาง (2003)
    อักขระ
    การออกเสียงที่ 1/2
    หมายเลข 4034
    ส่วนประกอบ
    สัทศาสตร์
    กลุ่มสัมผัส
    กลุ่มย่อยสัมผัส 0
    สัมผัสจีนยุคกลาง
    ที่สอดคล้อง
    จีนเก่า /*kʰoːŋ/

    คำคุณศัพท์[แก้ไข]

    1. ว่าง; เปล่า
    2. หมด
    3. เปิดโล่ง
    4. สงบเงียบ
    5. ขาดไป
    6. (หมิ่นเหนือ) หิว

    คำนาม[แก้ไข]

    1. อากาศ; ท้องฟ้า
    2. อวกาศ; จักรวาล; เอกภพ

    คำประสม[แก้ไข]

    การออกเสียง 2[แก้ไข]


    หมายเหตุ: hung3 - rare.
    หมายเหตุ:
    • káe̤ng - vernacular;
    • kóng - literary.
  • หมิ่นใต้
  • หมายเหตุ:
    • khòng - literary;
    • khàng - vernacular.
  • อู๋

  • สัมผัส
    อักขระ
    การออกเสียงที่ 2/2
    ต้นพยางค์ () (29)
    ท้ายพยางค์ () (1)
    วรรณยุกต์ (調) Departing (H)
    พยางค์เปิด/ปิด (開合) Open
    ส่วน () I
    ฝ่านเชี่ย
    แบกซเตอร์ khuwngH
    การสืบสร้าง
    เจิ้งจาง ซ่างฟาง /kʰuŋH/
    พาน อู้ยฺหวิน /kʰuŋH/
    ซ่าว หรงเฟิน /kʰuŋH/
    เอดวิน พุลลีย์แบลงก์ /kʰəwŋH/
    หลี่ หรง /kʰuŋH/
    หวาง ลี่ /kʰuŋH/
    เบอร์นาร์ด คาร์ลเกรน /kʰuŋH/
    แปลงเป็นจีนกลาง
    ที่คาดหมาย
    kòng
    แปลงเป็นกวางตุ้ง
    ที่คาดหมาย
    hung3
    ระบบเจิ้งจาง (2003)
    อักขระ
    การออกเสียงที่ 2/2
    หมายเลข 4045
    ส่วนประกอบ
    สัทศาสตร์
    กลุ่มสัมผัส
    กลุ่มย่อยสัมผัส 0
    สัมผัสจีนยุคกลาง
    ที่สอดคล้อง
    จีนเก่า /*kʰoːŋs/

    คำกริยา[แก้ไข]

    1. ทำให้ว่าง
    2. ปล่อยว่าง; เว้นว่าง

    คำคุณศัพท์[แก้ไข]

    1. ว่าง (ยังไม่มีใครใช้หรือนำไปใช้)

    คำนาม[แก้ไข]

    1. เวลาว่าง
    2. ห้องว่าง
    3. ช่องว่าง (ที่อยู่ระหว่างกลาง)

    เลข[แก้ไข]

    1. (หมิ่นใต้) ศูนย์

    คำประสม[แก้ไข]

    การออกเสียง 3[แก้ไข]

    ภาษาญี่ปุ่น[แก้ไข]

    คันจิ[แก้ไข]

    (เคียวอิกูกันจิระดับ 1)

    การอ่าน[แก้ไข]

    คำประสม[แก้ไข]

    รากศัพท์ 1[แก้ไข]

    คันจิในศัพท์นี้
    そら
    ระดับ: 1
    คุนโยมิ
    การสะกดแบบอื่น

    ⟨so1ra⟩ → */sʷora//sora/

    จากภาษาญี่ปุ่นเก่า, สมมุติฐานว่าจากภาษาญี่ปุ่นดั้งเดิม *sora.

    Found in the Kojiki c. 712 แม่แบบ:CE.[1]

    การออกเสียง[แก้ไข]


    คำนาม[แก้ไข]

    (そら) (sora

    1. ท้องฟ้า
      คำพ้องความ: (ten)
    ลูกคำ[แก้ไข]

    รากศัพท์ 2[แก้ไข]

    คันจิในศัพท์นี้
    から
    ระดับ: 1
    คุนโยมิ

    ร่วมเชื้อสายกับ (kara, เปลือกหอย).[1]

    การออกเสียง[แก้ไข]


    Prefix[แก้ไข]

    (から) (kara

    1. บางสิ่งที่ว่างเปล่า
      (から)(ばこ)karabakoกล่องเปล่า
    2. ไม่ได้ผล
      (から)()karaburiเปล่าประโยชน์
    3. เท็จ, ไม่จริง
    ลูกคำ[แก้ไข]

    รากศัพท์ 3[แก้ไข]

    คันจิในศัพท์นี้
    くう
    ระดับ: 1
    โกอง

    จากภาษาจีนยุคกลาง (MC khuwng|khuwngH).

    การออกเสียง[แก้ไข]


    คำนาม[แก้ไข]

    (くう) (

    1. อากาศว่างเปล่า
    2. ความไร้ความหมาย
    ลูกคำ[แก้ไข]

    รากศัพท์ 4[แก้ไข]

    คันจิในศัพท์นี้
    うろ
    ระดับ: 1
    คุนโยมิ
    สำหรับการออกเสียงและความหมายของ ▶ ให้ดูที่ :

    (The following entry is uncreated: .)

    รากศัพท์ 5[แก้ไข]

    คันจิในศัพท์นี้
    うつお
    ระดับ: 1
    คุนโยมิ
    สำหรับการออกเสียงและความหมายของ ▶ ให้ดูที่ :

    (The following entry is uncreated: .)

    รากศัพท์ 6[แก้ไข]

    คันจิในศัพท์นี้
    うつぼ
    ระดับ: 1
    คุนโยมิ
    สำหรับการออกเสียงและความหมายของ ▶ ให้ดูที่ : うつぼ

    (The following entry is uncreated: うつぼ.)

    อ้างอิง[แก้ไข]

    1. 1.0 1.1 2531 (1988), 国語大辞典(新装版) (Kokugo Dai Jiten, ฉบับปรับปรุงใหม่) (ภาษาญี่ปุ่น), โตเกียว: โชงะกุกัง
    2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2006, 大辞林 (Daijirin), Third Edition (in Japanese), Tōkyō: Sanseidō, →ISBN