อากาศ

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาไทย[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษาสันสกฤต आकाश (อากาศ); เทียบภาษาบาลี อากาส

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์อา-กาด[เสียงสมาส]
อา-กาด-สะ-
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงaa-gàataa-gàat-sà-
ราชบัณฑิตยสภาa-kata-kat-sa-
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/ʔaː˧.kaːt̚˨˩/(สัมผัส)/ʔaː˧.kaːt̚˨˩.sa˨˩./

คำนาม[แก้ไข]

อากาศ

  1. (วิทยาศาสตร์) แก๊สผสมที่ประกอบด้วยไนโตรเจนและออกซิเจนเป็นส่วนใหญ่ ใช้หายใจหรือช่วยในการเผาไหม้เป็นต้น
  2. (ปรัชญา) ที่ที่ว่างเปล่าซึ่งมีอยู่เป็นเอกเทศจากสสาร, เป็นธาตุอย่าง 1 ใน 6 คือ ปฐวีธาตุ (ธาตุดิน) อาโปธาตุ (ธาตุน้ำ) เตโชธาตุ (ธาตุไฟ) วาโยธาตุ (ธาตุลม) อากาศธาตุ (ที่ว่างเปล่า) และวิญญาณธาตุ (ธาตุรู้)
  3. ท้องฟ้า
    นกบินไปในอากาศ
  4. บางทีใช้หมายถึงสภาพดินฟ้าอากาศโดยทั่วไป
    เช้านี้อากาศดีจัง

คำแปลภาษาอื่น[แก้ไข]