誰
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
|
ข้ามภาษา[แก้ไข]
อักษรจีน[แก้ไข]
誰 (รากอักษรจีนที่ 149, 言+8, 15 ขีด, การป้อนชางเจี๋ย 卜口人土 (YROG), การป้อนสี่มุม 00614, การประกอบ ⿰訁隹)
- ใคร, ของใคร
อ้างอิง[แก้ไข]
- พจนานุกรมคังซี: หน้า 1165 อักขระตัวที่ 11
- พจนานุกรมไดกังวะจิเต็ง: อักขระตัวที่ 35686
- พจนานุกรมแทจาวอน: หน้า 1630 อักขระตัวที่ 27
- พจนานุกรมฮั่นยฺหวี่ต้าจื้อเตี่ยน (ฉบับพิมพ์ครั้งแรก): เล่ม 6 หน้า 3987 อักขระตัวที่ 10
- ข้อมูลยูนิฮันสำหรับ U+8AB0
ภาษาจีน[แก้ไข]
Glyph origin[แก้ไข]
แม่แบบ:liushu: semantic 言 (“speak”) + phonetic 隹 (OC *tjul)
รากศัพท์[แก้ไข]
ตัวเต็ม | 誰 | |
---|---|---|
ตัวย่อ | 谁* |
จาก *du + *-i (“ปัจจัยในสรรพนามอิสระ”); ร่วมรากกับ 疇 (OC *du, “ใคร”), 孰 (OC *djɯwɢ, “อันไหน; ใคร”) (แม่แบบ:zh-ref). ในภาษาตระกูลซีโน-ทิเบตันภาษาอื่น เทียบภาษาMizo tû (“ใคร; อันไหน”), ภาษาChepang दोह् (“อะไร”), ภาษาProto-Kuki-Chin *tuu (“ใคร; อันไหน (คำเชื่อมประโยคย่อยสัมพัทธ์)”) (แม่แบบ:zh-ref; STEDT)
การออกเสียง[แก้ไข]
ความหมาย[แก้ไข]
誰
- ปฤจฉาสรรพนาม: ใคร
- อนิยมสรรพนาม: ใคร, ใครก็ได้
- ชื่อสกุล
คำประสม[แก้ไข]
ภาษาญี่ปุ่น[แก้ไข]
คันจิ[แก้ไข]
誰
- สรรพนามบุคคลคำถาม: ใคร
การอ่าน[แก้ไข]
คำประสม[แก้ไข]
- 誰何 (suika)
รากศัพท์ 1[แก้ไข]
คันจิในศัพท์นี้ |
---|
誰 |
だれ ระดับ: S |
คุนโยะมิ |
/tare/ → /dare/
รูป dare เริ่มปรากฏตั้งแต่ยุคเอโดะ[3] การเปลี่ยนการออกเสียงต้นจาก /t-/ เป็น /d-/ เกิดขึ้นคล้ายกับคำสรรพนามบ่งชี้อื่น ๆ ได้แก่ 何れ (dore, “อันไหน”), 何処 (doko, “ที่ไหน”)
ปัจจุบันใช้เป็นรูปหลักแทนที่รูปเดิมคือ tare
การออกเสียง[แก้ไข]
- คุนโยะมิ
- (โตเกียว) だれ [dáꜜrè] (อะตะมะดะกะ - [1])[3][4]
- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): [da̠ɾe̞]
คำสรรพนาม[แก้ไข]
誰 (ดะเระ) (ฮิระงะนะ だれ, โรมะจิ dare)
- สรรพนามบุคคลคำถาม: ใคร
- 誰が誰を作ったのか
- dare ga dare o tsukutta no ka
- ใครสร้างใคร
- 誰が誰を作ったのか
ลูกคำ[แก้ไข]
ลูกคำ
สำนวน[แก้ไข]
ดูเพิ่ม[แก้ไข]
- ↑ .2531 (1988), 国語大辞典(新装版) (Kokugo Dai Jiten, ฉบับปรับปรุงใหม่) (ภาษาญี่ปุ่น), โตเกียว: โชงะกุกัง
- ↑ 2538 (1995), 大辞泉 (ไดจิเซ็น) (ภาษาญี่ปุ่น), โตเกียว: โชงะกุกัง, →ISBN
- ↑ 3.0 3.1 3.2 2549 (2006), 大辞林 (ไดจิริน), ปรับปรุงครั้งที่ 3 (ภาษาญี่ปุ่น), โตเกียว: ซันเซอิโด, →ISBN
- ↑ 4.0 4.1 2540 (1997), 新明解国語辞典 (พจนานุกรมภาษาญี่ปุ่นเข้าใจง่ายฉบับใหม่), ปรับปรุงครั้งที่ 5 (ภาษาญี่ปุ่น), โตเกียว: ซันเซอิโด, →ISBN
หมวดหมู่:
- บล็อก CJK Unified Ideographs
- อักขระในอักษรจีน
- คำหลักข้ามภาษา
- สัญลักษณ์ข้ามภาษา
- Han script characters
- Mandarin terms with multiple pronunciations
- คำหลักภาษาจีนยุคกลาง
- คำหลักภาษาจีนเก่า
- คำหลักภาษาจีน
- คำหลักภาษาจีนกลาง
- คำหลักภาษาดุงกาน
- คำหลักภาษากวางตุ้ง
- คำหลักภาษาห่อยซัน
- คำหลักภาษากั้น
- คำหลักภาษาแคะ
- คำหลักภาษาจิ้น
- คำหลักภาษาหมิ่นเหนือ
- คำหลักภาษาหมิ่นตะวันออก
- คำหลักภาษาหมิ่นใต้
- คำหลักภาษาแต้จิ๋ว
- คำหลักภาษาอู๋
- คำหลักภาษาเซียง
- คำสรรพนามภาษาจีน
- คำสรรพนามภาษาจีนกลาง
- คำสรรพนามภาษาดุงกาน
- คำสรรพนามภาษากวางตุ้ง
- คำสรรพนามภาษาห่อยซัน
- คำสรรพนามภาษากั้น
- คำสรรพนามภาษาแคะ
- คำสรรพนามภาษาจิ้น
- คำสรรพนามภาษาหมิ่นเหนือ
- คำสรรพนามภาษาหมิ่นตะวันออก
- คำสรรพนามภาษาหมิ่นใต้
- คำสรรพนามภาษาแต้จิ๋ว
- คำสรรพนามภาษาอู๋
- คำสรรพนามภาษาเซียง
- คำวิสามานยนามภาษาจีน
- คำวิสามานยนามภาษาจีนกลาง
- คำวิสามานยนามภาษาดุงกาน
- คำวิสามานยนามภาษากวางตุ้ง
- คำวิสามานยนามภาษาห่อยซัน
- คำวิสามานยนามภาษากั้น
- คำวิสามานยนามภาษาแคะ
- คำวิสามานยนามภาษาจิ้น
- คำวิสามานยนามภาษาหมิ่นเหนือ
- คำวิสามานยนามภาษาหมิ่นตะวันออก
- คำวิสามานยนามภาษาหมิ่นใต้
- คำวิสามานยนามภาษาแต้จิ๋ว
- คำวิสามานยนามภาษาอู๋
- คำวิสามานยนามภาษาเซียง
- ศัพท์ภาษาจีนที่มีการออกเสียง IPA
- ฮั่นจื้อภาษาจีน
- อักษรจีนภาษาจีน
- ศัพท์ภาษาจีนที่มีตัวอย่างการใช้
- ชื่อสกุลภาษาจีน
- คันจิภาษาญี่ปุ่น
- คันจิสามัญ
- คันจิภาษาญี่ปุ่นที่มีการอ่านแบบคุงเป็น だれ
- คันจิภาษาญี่ปุ่นที่มีการอ่านแบบคุงเป็น た
- คันจิภาษาญี่ปุ่นที่มีการอ่านแบบคุงเป็น たれ
- คันจิภาษาญี่ปุ่นที่มีการอ่านแบบคังองเป็น すい
- คันจิภาษาญี่ปุ่นที่มีการอ่านแบบโกะองเป็น ずい
- ศัพท์ภาษาญี่ปุ่นที่สะกดด้วย 誰 ออกเสียง だれ
- ศัพท์ภาษาญี่ปุ่นที่ออกเสียงคุนโยะมิ
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาญี่ปุ่น/m
- ศัพท์ภาษาญี่ปุ่นที่มีการออกเสียง IPA
- คำหลักภาษาญี่ปุ่น
- คำสรรพนามภาษาญี่ปุ่น
- ศัพท์ภาษาญี่ปุ่นที่สะกดด้วยคันจิระดับมัธยมศึกษา
- ศัพท์ภาษาญี่ปุ่นที่สะกดด้วยคันจิ 1 ตัว
- ศัพท์ภาษาญี่ปุ่นที่สะกดด้วย 誰