แมลง
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *mlɛːŋᴬ, จากภาษาไทดั้งเดิม *m.leːŋᴬ, จากภาษาจีนยุคกลาง 螟蛉 (MC meng leng)[1]; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย แมง, ภาษาไทดำ ꪵꪣꪉ (แมง), ภาษาไทใต้คง ᥛᥦᥒᥰ (แม๊ง), ,ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง mengz, ภาษาจ้วง mengz/nengz
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | มะ-แลง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | má-lɛɛng |
ราชบัณฑิตยสภา | ma-laeng | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /ma˦˥.lɛːŋ˧/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]แมลง (คำลักษณนาม ตัว)
- ชื่อสัตว์ขาปล้องในชั้นแมลง (Insecta) มีการเจริญเติบโตโดยการลอกคราบ ระยะโตเป็นตัวเต็มวัยร่างกายแบ่งออกเป็น 3 ส่วน เห็นชัดเจนได้แก่ ส่วนหัว ส่วนอก และส่วนท้อง มีขนาดแตกต่างกันมาก มีขา 6 ขา มีหนวดหนึ่งคู่ เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังพวกเดียวที่มีปีก ซึ่งส่วนใหญ่มีปีก 2 คู่ ยกเว้นบางพวกมี 1 คู่ หรือไม่มี เป็นสัตว์พวกที่มีจำนวนชนิดมากที่สุดในโลก พบได้ทั่วไป
- ชื่อชั้นหนึ่งในไฟลัมสัตว์ขาปล้อง (Arthropoda) มีสมาชิกชั้นคือแมลง (1)
คำพ้องความ
[แก้ไข]ลูกคำ
[แก้ไข]ดูเพิ่ม
[แก้ไข]อ้างอิง
[แก้ไข]- ↑ Pittayaporn, Pittayawat (2014), chapter Layers of Chinese Loanwords in Proto-Southwestern Tai as Evidence for the Dating of the Spread of Southwestern Tai, in MANUSYA: Journal of Humanities, volume 20 (special issue), Bangkok: Chulalongkorn University, ISSN 0859-9920, pages 47–68.
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɛːŋ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 2 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม ตัว
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาไทย/l
- th:แมลง