ก้าง
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *kaːŋꟲ, จากภาษาจีนยุคกลาง 鯁 (MC kaengX); ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ກ້າງ (ก้าง), ภาษาคำเมือง ᨠ᩶ᩣ᩠ᨦ (ก้าง), ภาษาไทใหญ่ ၵၢင်ႈ (ก้าง),ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง gangj, ภาษาจ้วง gangj
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ก้าง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | gâang |
ราชบัณฑิตยสภา | kang | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /kaːŋ˥˩/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]ก้าง
- ส่วนแข็งที่ประกอบเป็นโครงร่างของปลา โดยปรกติหมายเอาชิ้นที่แหลมเล็ก ๆ
- ชื่อปลาน้ำจืดชนิด Channa gachua ในวงศ์ Channidae คล้ายปลาช่อนหรือปลากระสงซึ่งเป็นปลาสกุลเดียวกัน เว้นแต่ปลาก้างนั้นเกล็ดข้างตัวมีราว 41-45 เกล็ด ขอบครีบต่าง ๆ เป็นสีส้ม
คำพ้องความ
[แก้ไข]- (1) ขี้ก้าง
ลูกคำ
[แก้ไข]คำกริยา
[แก้ไข]ก้าง
- (ร้อยกรอง) กั้ง, กั้น, ขวาง
- สองท้าวยินสองสายใจ จักก้างกลใด บดีบันโดยดังถวิล — สรรพสิทธิ์คำฉันท์ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ทรงนิพนธ์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๗
ลูกคำ
[แก้ไข]หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- สัมผัส:ภาษาไทย/aːŋ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- หน้าที่ใช้ชื่ออนุกรมวิธาน (species)
- คำกริยาภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่ใช้ในบทร้อยกรอง
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้