สัน
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *sanᴬ¹; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩈᩢ᩠ᨶ (สัน), ภาษาลาว ສັນ (สัน), ภาษาไทลื้อ ᦶᦉᧃ (แสน), ภาษาไทใหญ่ သၼ် (สัน), ภาษาไทใต้คง ᥔᥢᥴ (สั๋น), ภาษาพ่าเก ꩬꩫ် (สน์), ภาษาอาหม 𑜏𑜃𑜫 (สน์)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | สัน | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | sǎn |
ราชบัณฑิตยสภา | san | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /san˩˩˦/(สัมผัส) | |
คำพ้องเสียง |
คำนาม
[แก้ไข]สัน
- สิ่งที่มีลักษณะนูนสูงขึ้นเป็นแนวยาว
- สันหลังคา
- สันหน้าแข้ง
- ดั้งจมูกเป็นสัน
- ส่วนหนาของมีดหรือขวานซึ่งอยู่ตรงข้ามกับคม
ภาษาคำเมือง
[แก้ไข]คำนาม
[แก้ไข]สัน
- อีกรูปหนึ่งของ ᩈᩢ᩠ᨶ (สัน)
ภาษาอีสาน
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]จากภาษาไทย ฉัน (“สรรพนามบุรุษที่ 1”) โดย ฉ กลายเป็น ส
คำสรรพนาม
[แก้ไข]สัน
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- สัมผัส:ภาษาไทย/an
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีคำพ้องเสียง
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมืองในอักษรไทย
- ศัพท์ภาษาอีสานที่รับมาจากภาษาไทย
- คำหลักภาษาอีสาน
- คำสรรพนามภาษาอีสาน