ข้ามไปเนื้อหา

ย่อม

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: ยอม และ ย้อม

ภาษาไทย

[แก้ไข]

การออกเสียง

[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์
{ไม่ตามอักขรวิธี; เสียงสระสั้น}
ย็่อม
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงyɔ̂m
ราชบัณฑิตยสภาyom
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/jɔm˥˩/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1

[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຍ່ອມ (ย่อม), ภาษาคำเมือง ᨿᩬ᩵ᨾ (ยอ่ม), ภาษาไทใหญ่ ယွမ်ႈ (ย้อ̂ม)

คำคุณศัพท์

[แก้ไข]

ย่อม (คำอาการนาม ความย่อม)

  1. มีขนาดเล็กกว่าเมื่อเทียบกัน
    เนื้อชิ้นนี้ขนาดย่อมกว่าอีกชิ้น
  2. เบา, ถูกลง, ใช้ แก่ราคา
    หาซื้อหนังสือราคาย่อมกว่านี้หน่อย
  3. ลดลง, หย่อนลง

รากศัพท์ 2

[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຍ່ອມ (ย่อม), ภาษาคำเมือง ᨿᩬ᩵ᨾ (ยอ่ม)

คำกริยาวิเศษณ์

[แก้ไข]

ย่อม

  1. คำช่วยกริยา แสดงว่ากริยานั้นเป็นไปหรือ เกิดขึ้นตามปกติ
    คนมีปัญญาย่อมมีอำนาจเหนือคนโง่
คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]

ภาษาคำเมือง

[แก้ไข]

การออกเสียง

[แก้ไข]

รากศัพท์ 1

[แก้ไข]

คำกริยา

[แก้ไข]

ย่อม (คำอาการนาม การย่อม)

  1. (สกรรม) อีกรูปหนึ่งของ ᨿᩬ᩵ᨾ (ยอ่ม)

คำคุณศัพท์

[แก้ไข]

ย่อม (คำอาการนาม คำย่อม หรือ ฅวามย่อม)

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᨿᩬ᩵ᨾ (ยอ่ม)

รากศัพท์ 2

[แก้ไข]

คำกริยาวิเศษณ์

[แก้ไข]

ย่อม

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᨿᩬ᩵ᨾ (ยอ่ม)