สี่

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: , ส., สิ, สี, สุ, สู, สู่, และ สู้

ภาษาไทย[แก้ไข]

จำนวนภาษาไทย (edit)
40
 ←  3
4
5  → 
    เชิงการนับ: สี่
    เชิงอันดับที่: ที่สี่
    ตัวคูณ: สี่เท่า
    เศษส่วน (⅟…): (ล้าสมัย) เสี้ยว
วิกิพีเดียมีบทความเกี่ยวกับ:
Wikipedia
ตู้โทรศัพท์สี่ตู้

รากศัพท์[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *siːᴮ, จากภาษาจีนยุคกลาง (MC sijH), จากภาษาซีโน-ทิเบตันดั้งเดิม *b-ləj; ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน สี่, ภาษาลาว ສີ່ (สี่), ภาษาคำเมือง ᩈᩦ᩵ (สี่), ภาษาไทลื้อ ᦉᦲᧈ (สี่), ภาษาไทดำ ꪎꪲ꪿ (สิ่), ภาษาไทใหญ่ သီႇ (สี่), ภาษาไทใต้คง ᥔᥤᥱ (สี่), ภาษาอาหม 𑜏𑜣 (สี), ภาษาปู้อี sis, ภาษาจ้วง seiq, ภาษาจ้วงใต้ siq

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์สี่
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงsìi
ราชบัณฑิตยสภาsi
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/siː˨˩/(สัมผัส)

เลข[แก้ไข]

สี่

  1. จำนวนสามบวกหนึ่ง, จำนวนจุดที่มีในนี้ (••••)

คำพ้องความ[แก้ไข]

ดูที่ อรรถาภิธาน:สี่

คำนาม[แก้ไข]

สี่

  1. เรียกเดือนที่ 4 ทางจันทรคติ ว่า เดือน 4 ตกในราวเดือนมีนาคม

คำประสม[แก้ไข]

คำแปลภาษาอื่น[แก้ไข]

ภาษาแสก[แก้ไข]

คำนาม[แก้ไข]

สี่

  1. สี