นาค
หน้าตา
ดูเพิ่ม: นาคู
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาสันสกฤต नाग (นาค) หรือ ภาษาบาลี นาค
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | นาก | [เสียงสมาส] นาก-คะ- | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | nâak | nâak-ká- |
ราชบัณฑิตยสภา | nak | nak-kha- | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /naːk̚˥˩/(สัมผัส) | /naːk̚˥˩.kʰa˦˥./ | |
คำพ้องเสียง | นาก |
คำนาม
[แก้ไข]นาค
- (ศาสนาฮินดู, ศาสนาพุทธ, เชน) งูใหญ่มีหงอน เป็นสัตว์ในนิยาย
- ผู้ประเสริฐ, ผู้ไม่ทำบาป
- (ศาสนาพุทธ) เรียกคนที่ไปอยู่วัดเตรียมตัวจะบวชหรือกำลังจะบวช
- (ร้อยกรอง) ช้าง
- (ร้อยกรอง) ไม้กากะทิง
คำพ้องความ
[แก้ไข]- (งูในนิยาย): ดูที่ อรรถาภิธาน:นาค
คำวิสามานยนาม
[แก้ไข]นาค
- ชื่อชนเผ่าหนึ่งอยู่ในบริเวณเทือกเขานาค ทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศอินเดีย และทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศพม่า มีหลายสาขา เช่น อาโอนาค กูกินาค
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาบาลี
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาบาลี
- สัมผัส:ภาษาไทย/aːk̚
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีคำพ้องเสียง
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 2 พยางค์
- อุปสรรคภาษาไทย
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- th:ศาสนาฮินดู
- th:ศาสนาพุทธ
- ศัพท์ภาษาไทยที่ใช้ในบทร้อยกรอง
- คำวิสามานยนามภาษาไทย